1 / 23

โครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ). เรื่อง. เทคนิคการหุงข้าวสวย เพื่อยืดอายุในการเก็บรักษา. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี. โดย... นักศึกษาแผนกอาหารและโภชนาการ. ระดับ ปวช. 3 ดังนี้. นายสุทัศน์ มีสวัสดิ์ นางสาวระพีพรณณ เสือสอาด นางสาวแพรวา มาบัง. ครูที่ปรึกษาโครงงาน.

Download Presentation

โครงงานวิทยาศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เรื่อง เทคนิคการหุงข้าวสวย เพื่อยืดอายุในการเก็บรักษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี

  2. โดย...นักศึกษาแผนกอาหารและโภชนาการโดย...นักศึกษาแผนกอาหารและโภชนาการ ระดับ ปวช.3ดังนี้ • นายสุทัศน์ มีสวัสดิ์ • นางสาวระพีพรณณ เสือสอาด • นางสาวแพรวา มาบัง ครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวจิราพร ทัดพินิจ นางสาวอรนุช กอสวัสดิ์พัฒน์ นางสาวเขมชุดา วงษ์ผาติกร

  3. ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน ในปี พ.ศ. 2554 มีเหตุการณ์น้ำท่วมหนักในหลายจังหวัดในประเทศไทย เรียกว่าเป็นภัยพิบัติครั้งใหญ่ ประชาชนที่อยู่ห่างไกล และมีน้ำท่วมขังลึกมาก อาหารขาดแคลน จึงต้องมีการทำอาหารจำนวนมาก เพื่อนำไปให้ผู้ที่ติดอยู่ในบ้านหรือหมู่บ้าน การทำอาหารจำนวนมากต้องใช้เวลาการขนส่งไปยังผู้ประสบภัยระยะทางลำบาก เพราะน้ำท่วมถนนขาด ต้องใช้เรือพาย จึงใช้ระยะเวลานานในการขนส่ง ทำให้ข้าวที่ทำเสีย บูด ก่อนจะรับประทาน แม่ครัวมีเคล็ดลับวิธีการหุงข้าว เพื่อให้ข้าวสวยอยู่นานในอุณหภูมิปกติได้แก่ หุงข้าวใส่น้ำน้อยพอสุกนำขึ้นผึ่งให้แห้งและสะอาดจึงห่อแต่ข้าวสวยก็อยู่ได้ไม่เกิน 48 ชั่วโมง ในอุณหภูมิปกติ

  4. ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน การหุงข้าวสวยเพื่อผู้ประสบภัยพิบัติต้องใช้เวลาในการทำจนถึงมือผู้ประสบภัย จะไม่ต่ำกว่า 48 ชั่วโมง ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาขั้นตอนการทำข้าวสวยตั้งแต่ขั้นตอนการเลือกชนิดของข้าวจากการทอลองและให้ข้าวที่หุงสุกแล้วอยู่ได้ไม่ต่ำกว่า 72 ชั่วโมง

  5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาชนิดของข้าวสารเจ้าที่นำมาใช้ในการทำข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้ไม่ต่ำกว่า 72 ชั่วโมง ในอุณหภูมิปกติ 2. เพื่อศึกษาส่วนผสมของข้าว : น้ำ ที่ใช้ในการหุงข้าวสวย ทำให้ข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้ไม่ต่ำกว่า 72 ชั่วโมง ในอุณหภูมิปกติ

  6. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. เพื่อศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมการแช่ข้าวในน้ำ ทำการก่อนหุง 4. เพื่อศึกษาเทคนิคในการหุงข้าวสวยทำให้ข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาไม่ต่ำกว่า 72 ชั่วโมง

  7. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1. ข้าวสารเจ้าแต่ละชนิดที่นำมาใช้ในการทำข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้ในอุณหภูมิปกติ เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกัน 2. อัตราส่วนระหว่าง ข้าว : น้ำ ที่ใช้ในการหุงข้าวสวย ทำให้ข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกัน

  8. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 3. ระยะเวลาการแช่ข้าวที่เหมาะสมมีผลต่ออายุการเก็บรักษาได้เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกัน 4. การเลือกใช้ชนิดของข้าวสาร อัตราส่วนในการผสมระหว่า ข้าว : น้ำ และเทคนิควิธีการในการหุงข้าวสวยทำให้ข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้แตกต่างกัน

  9. ตัวแปรที่ศึกษา ตอนที่ 1 ชนิดข้าวสารเจ้าที่นำมาใช้ในการทำข้าวสวยมีผลต่ออายุการเก็บรักษาข้าวสวยในอุณหภูมิปกติ ได้เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกัน 1.1 ตัวแปรต้น คือ ชนิดของข้าวสารเจ้า 4 ชนิด ได้แก่ ข้าวสารเจ้า กข. ข้าวสารเจ้ากล้องข้าวสารเจ้า ซ้อมมือ และข้าวสารเจ้าผสม (ข้าว กข. 2 ส่วน : ข้าวหอมมะลิ 1 ส่วน) 1.2 ตัวแปรตาม คือ อายุการเก็บรักษาข้าวในอุณหภูมิปกติ 1.3 ตัวแปรควบคุมคือ เทคนิคการหุง อัตราส่วนระหว่าง ข้าว : น้ำ

  10. ตัวแปรที่ศึกษา ตอนที่ 2อัตราส่วนระหว่าง ข้าว : น้ำ ที่ใช้ในการหุงข้าวสวย ทำให้ข้าวสวยมีอายุการเก็บรักษาได้เป็น ระยะเวลาที่แตกต่างกัน 2.1 ตัวแปรต้น คือ อัตราส่วนระหว่าง ข้าว : น้ำ 2.2 ตัวแปรตาม คือ อายุการเก็บรักษาข้าวในอุณหภูมิปกติ 2.3 ตัวแปรควบคุม คือ เทคนิคการหุง ชนิดของข้าวสารเจ้า

  11. ตัวแปรที่ศึกษา ตอนที่ 3 ระยะเวลาการแช่ข้าวก่อนหุงที่เหมาะสมมีผลต่ออายุการเก็บรักษาได้เป็นระยะเวลาที่แตกต่างกัน 3.1 ตัวแปรต้นคือ ระยะเวลาในการแช่ข้าวสารก่อนนำมาหุง 3.2 ตัวแปรตามคือ อายุการเก็บรักษาข้าวในอุณหภูมิปกติ 3.3 ตัวแปรควบคุมคือ เทคนิคการหุง อัตราส่วนระหว่าง ข้าว : น้ำ

  12. วิธีการทดลอง • 1. ซาวข้าวสารผึ่งให้สะเด็ดน้ำ ข้าวสารที่ซาวและผึ่งไว้

  13. วิธีการทดลอง 2. ตักข้าวสารใส่ถุงทนความร้อน บรรจุข้าวสารใส่ถุง

  14. วิธีการทดลอง 3. เตรียมน้ำสะอาด 250 กรัม ชั่งน้ำสะอาด 250 กรัม

  15. วิธีการทดลอง 4. ใส่น้ำสะอาด ลงในข้าว ใส่ น้ำ 250 กรัม ในข้าว

  16. วิธีการทดลอง 5. ซีลปากถุงใน เครื่องสูญญากาศ ซีลสุญญากาศ

  17. วิธีการทดลอง 6. ซีลด้วยเครื่อง ให้ปิดสนิทอีกครั้ง ซีลด้วยเครื่องให้ปิดสนิทอีกครั้ง

  18. วิธีการทดลอง 7. นำไปต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 15 – 18 นาที หรือจนกระทั่งสุก นำไปต้มในน้ำเดือด 100 องศาเซลเซียส นาน 15 – 18 นาที หรือจนกระทั่งสุก

  19. ผลการทดลอง ผลการทดลองครั้งที่ 1 การหุงข้าวโดยอัตราส่วนข้าว : น้ำ : ตามของการหุง

  20. ผลการทดลอง ผลการทดลองครั้งที่ 2 แช่ข้าวสารทุกชนิดนาน 2 ชั่วโมง

  21. ผลการทดลอง ผลการทดลองครั้งที่ 3 ข้าวสารแช่น้ำนาน 3 ชั่วโมง

  22. สรุปผลการทดลอง

  23. จบการนำเสนอ ขอขอบคุณผู้ฟังการนำเสนอทุกท่าน

More Related