1 / 18

ร่างแนวคิด( draft of project ) โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ( Organic Farming )

ร่างแนวคิด( draft of project ) โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ( Organic Farming ). ส่วนหนึ่ง กิจกรรมร่วมรับผิดชอบต่อสังคม( CSR: ) ยุทธศาสตร์องค์กรแห่งความสุข( Happy Work Place ). ภาพรวมยุทธศาสตร์ องค์กรแห่งความสุขปี 2. -สุขภาวะ -ความร่วมมือ -ไว้วางใจ(ศรัทธา). จะดำเนินการ ปี 2556.

kynton
Download Presentation

ร่างแนวคิด( draft of project ) โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ( Organic Farming )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ร่างแนวคิด(draft of project )โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ(Organic Farming) ส่วนหนึ่ง กิจกรรมร่วมรับผิดชอบต่อสังคม(CSR:) ยุทธศาสตร์องค์กรแห่งความสุข(Happy Work Place)

  2. ภาพรวมยุทธศาสตร์ องค์กรแห่งความสุขปี 2 -สุขภาวะ -ความร่วมมือ -ไว้วางใจ(ศรัทธา) จะดำเนินการ ปี 2556

  3. วัตถุประสงค์

  4. CP-CSR activities พูดคุย(Dialogue)พันธมิตรในพื้นที่

  5. (Dialogue)แนวทางปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ การประชุมวางแผน 3 ฝ่าย ชุมชน-บริษัท ซีพี -โรงพยาบาล

  6. ร่วมสำรวจเส้นทางปลูกต้นไม้(Survey Community)

  7. ปัจจัยนำเข้า(Input) กระบวนการ(Process) ผลผลิต(Output) กรอบแนวคิดการทำงาน(Conceptual Framework) 1.สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร อ.ระโนด 1.1 สถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหาร อ.ระโนด(รพ.และ สสอ.) 1.2 สถานการณ์การตรวจระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอร์เรส 1.3 สถานการณ์โรคมะเร็ง 2.เครือข่ายด้านอาหาร อ.ระโนด 3.นวัตกรรม/กิจกรรมของเครือข่ายด้านอาหาร อ.ระโนด 4.แหล่งงบประมาณ 4.1 โรงพยาบาลระโนด 4.2 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 4.3 บริษัท เชฟรอน ขุดเจาะฯ 4.4 บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด(มหาชน) 1.บุคลากร รพ.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ 80 % 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักถึงอันตรายจากสารเคมีตกค้างทางการเกษตร ขั้นตอนเตรียม(Preparation) 1.Dialogue 1st,2nd ,3rd 2.ศึกษาดูงานโรงเรียนภูมิปัญญาชาวนา) 3.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ผลลัพธ์(Outcome) 1.เกิดระบบกลุ่มเกษตรกรเพื่อการผลิตแบบ CSA 2.เกิดจุดเรียนรู้ การทำนาแบบอินทรีย์ ขั้นตอนดำเนินการ 4.การจัดหาพันธุ์ข้าว(พื้นเมือง,ตลาด) 5.เตรียมปุ๋ยหมัก,การเพาะกล้าโยน,เตรียมดิน 6.ปฏิบัติการชุมชน ปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารที่บ้านเธอ/นิทรรศการ/เกมส์/กีฬามหาสนุก 7.การแปรรูป/การจัดบรรจุภัณฑ์ 8.ประเมินผล ผลกระทบ(Impact) 1.ระบบการผลิตแบบ CSA ถูกนำไปใช้ เพื่อพัฒนาระบบการเกษตร

  8. ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่พบสารปนเปื้อน ปี 52-55

  9. จำนวนตัวอย่างที่ผ่าน-ตกมาตรฐานสารปนเปื้อนจำนวนตัวอย่างที่ผ่าน-ตกมาตรฐานสารปนเปื้อน

  10. แผนภูมิภาพแสดงชนิดของอาหารที่ตรวจพบยาฆ่าแมลง อ.ระโนด

  11. สถานการณ์สารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภคสถานการณ์สารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภค

  12. ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร อย.น้อยตรวจสารปนเปื้อน มะเร็งในเกษตรกร/ผู้บริโภค สารเคมีต้องห้ามใช้ ตกค้างยาวนาน

  13. ระบบเกษตรแบบชุมชนหนุนเสริมCSA (Community Supported Agriculture) • เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 30 กว่าปี ทวีปอเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น เรียกว่า “teikei” • ระบบเกษตรที่เป็นร่วมมือกันของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคที่มาจับมือกัน เพื่อผลิตอาหารที่ดี ภายใต้ระบบความสัมพันธ์ที่ดี และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • หลักการและแนวคิด 1.แก้ปัญหาความมั่นคงทางอาหาร 2.ผู้บริโภคมีส่วนรับผิดชอบต่อความเสียหายจากการผลิต 3.การนำผู้บริโภคมาเรียนรู้วิถีผลิตเกษตรกรรม 4.ผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างมีกิจกรรมร่วมกัน 5.การแบ่งรับค่าใช้จ่าย เช่น ค่าขนส่ง (ที่มา:www.consumersouth.org/paper/828 เรื่อง ประสบการณ์ CSA ในประเทศไทย)

  14. กลุ่มผักใจประสานใจ อ.ด่านซ้าย จ.สุพรรณบุรี ผู้บริโภค 250 Bht/3 kg ,12,000 Bht./yr 3 kg/wk กลุ่มผักใจประสานใจ ค่าผัก 50 Bht./kg บริหารจัดการ 40 Bht./time ขนส่ง 60 Bht./time

  15. กรณีศึกษา การทำนาโยนอินทรีย์ ต.บ่อแดง การลงแขกเกี่ยวข้าว ดูแลใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ชาวบ้านช่วยกันโยนกล้า ทำความเข้าใจชาวบ้าน ไถ่/เตรียมดินทำนาโยน หยอดเตรียมกล้าโยน

  16. เพาะกล้า 3 wk หว่านปุ๋ย Timeline โครงการปลูกข้าวบ้านฉัน เป็นอาหารบ้านเธอ ศึกษาดูงาน ทำปุ๋ยอินทรีย์ เก็บเกี่ยว พื้นที่ : รร.ร.ว. /เกษตรกร มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ต.ค.56 นิทรรศการ กิจกรรมปลูกข้าวฯ แปรรูปข้าวกล้องงอก CP Dialogue 1st Dialogue 2nd ,3rd กลุ่มเกษตร เกมส์/กีฬาเชื่อมสามัคคี สกอ. อปท. จุดเรียนรู้เรื่องการเกษตร รพ.ระโนด

  17. พื้นที่สาธารณประโยชน์ ต.ระโนด ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รว. ตัวอย่างพื้นที่น่าสนใจ(Target)

  18. กลุ่มเป้าหมาย 1.กลุ่มเกษตรกร(พื้นที่ บ้านใหม่ ตะเครียะ ผักกูด คลองแดน) เข้าสู่โรงเรียนชาวนา 2.พื้นที่สาธารณประโยชน์ 3.ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ร.ร.ระโนดวิทยา

More Related