1 / 111

การจัดสวัสดิการอาจารย์ ต้องงานหลวงไม่ให้ขาด และงานราษฎร์ไม่ให้เสีย

การจัดสวัสดิการอาจารย์ ต้องงานหลวงไม่ให้ขาด และงานราษฎร์ไม่ให้เสีย. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน อดีตนายกสโมสรข้าราชการ นิด้า และอดีตประธานสภาคณาจารย์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. Charm@ksc.au.edu. www.charm.au.edu. เอกสารประกอบการบรรยาย จัดโดยสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

kyra-rogers
Download Presentation

การจัดสวัสดิการอาจารย์ ต้องงานหลวงไม่ให้ขาด และงานราษฎร์ไม่ให้เสีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสียการจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสีย ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน อดีตนายกสโมสรข้าราชการ นิด้า และอดีตประธานสภาคณาจารย์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง Charm@ksc.au.edu www.charm.au.edu เอกสารประกอบการบรรยาย จัดโดยสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

  2. การจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสียการจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสีย บทนำ หลักการด้านสวัสดิการ การทำงานหลวงและงานราษฎร์ สวัสดิการสำหรับอาจารย์ ตัวอย่างสวัสดิการที่อัสสัมชัญ สวัสดิการเจ้าหน้าที่และนักศึกษา สรุป 2

  3. 1. บทนำ • ขอขอบพระคุณ ศ. นพ. จรัส สุวรรณเวลานายกสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่กรุณาให้เกียรติเชิญผมมาแสดงความคิดเห็นในวันนี้ • ผมมีงานอื่นที่รับไว้ล่วงหน้ามากมายจึงไม่มีเวลาค้นหาข้อมูลมาวิเคราะห์วิจัย ฉะนั้น จึงต้องขอออกตัวไว้ล่วงหน้าว่าข้อมูลที่เสนอวันนี้เป็นความเห็นส่วนตัวเท่านั้น 3

  4. บทนำ (ต่อ) • ข้อมูลที่เสนอในวันนี้ผมไม่มีเวลาตรวจสอบหาเอกสารประกอบ ฉะนั้น อาจจะมีที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปบ้างจึงต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย 4

  5. บทนำ (ต่อ) • ข้อมูลที่เสนอเป็นข้อมูลจากความทรงจำที่เคยเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ:- อาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมาณ พ.ศ. 2503 - 2507 (48 ปี ถึง 2551)- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ (McMaster) แคนาดา และกรรมการสภาอาจารย์ (Faculty Senate)พ.ศ. 2507 - 2509 5

  6. บทนำ (ต่อ) -รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยอัลเบอร์ต้า (Alberta) แคนาดา และกรรมการสภาคณาจารย์พ.ศ. 2509 - 2511 -รศ. และ ผู้อำนวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอร์ (Director of Graduate Studies in Computer Science) มหาวิทยาลัยมิซซูรี (U of Missuri) สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2511 - 2516 6

  7. บทนำ (ต่อ) -ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยรัฐนิวยอร์ก (State University of New York) และที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายบริหารด้านไอที(ไม่มีรองอธิการบดีด้านไอทีขณะนั้น)พ.ศ. 2516 - 2517 -ศาสตราจารย์ หัวหน้าวิชาประมวลข้อมูล และนายกสโมสรข้าราชการ นิด้าพ.ศ. 2517 - 2520 7

  8. บทนำ (ต่อ) -รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน (กิติมศักดิ์)มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญพ.ศ. 2519 – ปัจจุบัน (32 ปี ถึง พ.ศ. 2551)พ.ศ. 2551 เป็นรองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศและประธานกรรมการและประธานผู้บริหารวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 8

  9. บทนำ (ต่อ) -ศาตราจารย์ ระดับ 10 พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบังพ.ศ. 2527 - 2531 -ศาตราจารย์ ระดับ 11และประธานสภาคณาจารย์พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบังพ.ศ. 2531 - 2540 (เป็น ศ. 11 คนแรกด้านวิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขา และเป็นอยู่ 10 ปี) 9

  10. 2. หลักการด้านสวัสดิการ • สวัสดิการ (Fringe Benefits หรือ Employee Benefits)คือ สิทธิประโยชน์นอกเหนือจากเงินเดือน • สวัสดิการมีได้หลายแบบ อาทิ- บ้านพัก- การประกันต่างๆ (ประกันสุขภาพ ประกันทันตกรรม ประกันชีวิต ฯลฯ) - การคุ้มครองการทุพลภาพจากการปฏิบัติงาน 10

  11. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) - บำเหน็จบำนาญ - บริการเลี้ยงเด็ก - ทุนศึกษาต่อและการคืนค่าเล่าเรียน (Scholarship and Tuition Reimbursement) - การลาต่างๆ (ลาป่วย ลากิจ และลาพักร้อน) - ประกันสังคม • ส่วนแบ่งกำไร (Profit Sharing) • ในกิจการพิเศษที่มีกำไร หรือ โบนัส 11

  12. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • รถประจำตำแหน่ง หรือ สิทธิใช้รถฟรี • คอมพิวเตอร์ประจำตำแหน่ง • บัตรเครดิตประจำตำแหน่ง • เลขานุการบริหารประจำตำแหน่ง • เลขานุการประจำตำแหน่ง • ห้องทำงานประจำตำแหน่ง • บ้านพักประจำตำแหน่ง 12

  13. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • การพักฟรีที่โรงแรมของสถานศึกษา • น้ำชา กาแฟ เครื่องดื่ม และอาหารว่าง ฟรี • อาหารกลางวันฟรี • ใช้สถานที่ออกกำลังกายและกีฬาฟรี อาทิ ใช้สนามกอล์ฟฟรี เป็นต้น • เบิกอุปกรณ์สำนักงานฟรี 13

  14. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ค่าย้ายบ้าน • มีผู้ช่วยเหลือด้านคดีความ (Legal Assistance)ในกรณีถูกฟ้องคดีจากการทำงาน • มีส่วนลดพิเศษจากธุรกิจ อาทิ ส่วนลดด้านอาหาร ส่วนลดสถานที่ท่องเที่ยว และ ส่วนลดภาพยนตร์ เป็นต้น • ฯลฯ 14

  15. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • สวัสดิการบางประเภทต้องเสียภาษีสวัสดิการบางประเภทไม่ต้องเสียภาษี • ตัวอย่าง ถ้าพิสูจน์ได้ว่าการรับประทานอาหารกลางวันฟรีเป็นเรื่องจำเป็นเพื่อให้ทำงานติดต่อได้ก็ไม่ต้องเสียภาษี แต่ถ้าพิสูจน์ไม่ได้ก็ถือว่าค่าอาหารกลางวันเป็นรายได้ต้องนำไปรวมยอดที่ต้องเสียภาษีด้วย 15

  16. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • วัตถุประสงค์หลักของสวัสดิการ คือ - เพิ่มความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้ผู้รับ- เพิ่มความจงรักภักดีของผู้รับไม่ให้อยากย้าย ไปอยู่ที่อื่น 16

  17. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ประโยชน์ของสวัสดิการต่อสถานศึกษา - ช่วยให้ได้อาจารย์ใหม่ และรักษาอาจารย์เก่าที่มีคุณภาพ - ลดความเสี่ยงทางการเงิน โดยบริษัทประกันช่วยจ่ายค่าเสียหาย แทนสถานศึกษา - ทำให้อาจารย์ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องสวัสดิการของตนเอง และครอบครัว 17

  18. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) - ค่าสวัสดิการที่สถานศึกษาจ่ายให้กับอาจารย์อาจนำไปหักภาษีได้ในกรณีกิจการที่ต้องเสียภาษีอาทิ สถานศึกษาที่มีศูนย์การค้าและให้ส่วนลดเป็นสวัสดิการแก่อาจารย์ เป็นต้น 18

  19. หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ประโยชน์ของสวัสดิการต่ออาจารย์ - ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายที่มีสวัสดิการ ทำให้ทำงานได้ดีขึ้น - ถ้ามึประกันชีวิตเป็นสวัสดิการ ก็ช่วยให้ครอบครัวมีเงินใช้ เมื่ออาจารย์เสียชีวิต - ช่วยให้มีขวัญและกำลังใจดีขึ้น 19

  20. 3. การทำงานหลวงและงานราษฎร์ การทำงานของอาจารย์ในสถานศึกษาอาจจะแบ่งเป็น 2 ประเภท 3.1 งานหลวง คือ งานในหน้าที่อาจารย์ 3.2 งานราษฎร์ คือ งานที่ไม่ใช่งานหลวง 20

  21. 3.1 งานหลวง • งานหลวง หรือ งานในหน้าที่ที่ต้องทำให้สถานศึกษา ตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือธรรมเนียมปฏิบัติ • งานหลวงของแต่ละสถานศึกษาก็แตกต่างกันไป ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ตัวอย่างที่หนึ่ง งานหลวงของมหาวิทยาลัย ในสหรัฐอเมริกาหลายแห่ง คือ ให้ทำงานให้สถานศึกษาสัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 7 ชั่วโมง รวมสัปดาห์ละ 28 ชั่วโมง 21

  22. งานหลวง (ต่อ) • ปกติ 4 วันนั้น จะเป็นวันจันทร์ – ศุกร์ โดยให้ไปทำงานราษฎร์ได้สัปดาห์ละ 1 วัน • สำหรับงานราษฎร์นอกจากสัปดาห์ละ 1 วัน ระหว่างจันทร์ – ศุกร์ แล้วยังรวม * เวลาในวันทำงานหลวงที่นอกจาก 7 ชั่วโมง ซึ่งอาจจะเป็น 8.00 – 12.00 น. และ 13.00 – 16.00 น. • * เวลาในวันเสาร์ – อาทิตย์ อีกวันละ 7 – 16 ชั่วโมง 22

  23. งานหลวง (ต่อ) • เวลาทำงานแต่ละคนมีเวลาทำงานไม่เท่ากัน - วันหนึ่งมีเวลา 24 ชม. - เวลานอน 7 ชม. เหลือเวลาอีก 17 ชม.- ทำงานหลวง 7 ชม. เหลือเวลาอีก 10 ชม. - เวลาส่วนตัว 2 ชม. เหลือเวลาอีก 8 ชม. - ทำงานราษฎร์ 8 ชม. เหลือเวลาอีก 0 ชม. 23

  24. งานหลวง (ต่อ) • รวมทั้งสัปดาห์มีเวลานอกจากเวลานอน 7 x (24 - 7) = 119 ชม. • ทำงานหลวง 4 x 7 ถึง 5 x 8 = 28 ถึง 40 ชม. • ทำงานราษฎร์ได้สัปดาห์ละ 119 – (28 หรือ 40)= 79 ถึง 91 ชม. 24

  25. งานหลวง (ต่อ) • ตัวอย่างงานหลวง 3.1.1 งานสอน 3.1.2 งานวิจัย 3.1.3 งานบริการวิชาการ 3.1.4 งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 25

  26. 3.1.1 งานสอน • แต่ละสถานศึกษากำหนดงานสอนไม่เท่ากัน • ตัวอย่าง ภาระงานสอน (Teaching Load)- อาจารย์ทั่วไปสอน 2 วิชา - อาจารย์ที่เป็นผู้บริหารสอน 1 วิชา • ถ้าสอนนอกเหนือจากภาระการสอน จะได้รับค่าสอนเพิ่มเติม 26

  27. 3.1.2 งานวิจัย • ในต่างประเทศอาจกำหนดผลงานวิจัย - จากอาจารย์เป็น ผศ. 3 บทความ - จาก ผศ. เป็น รศ. 5 บทความ - จาก รศ. เป็น ศ. 7 บทความ • อาจกำหนดว่าต้องคุมวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก และปริญญาโทจำนวนหนึ่ง 27

  28. งานวิจัย (ต่อ) • อาจกำหนดว่าต้องได้รับทุนวิจัย อาทิ - National Research Council of Canada - National Science Foundation - กองทุนวิจัยทหาร 28

  29. งานวิจัย (ต่อ) • ตัวอย่าง เมื่อผมขอเลื่อนจาก ผศ. เป็น รศ. ต้องมีบทความวิจัย 5 บทความ จึงขอคุมวิทยานิพนธ์นักศึกษา 20 คน และภายใน 1 ปี ก็ได้ 5 บทความวิจัยครบ ก็ได้เลื่อนตำแหน่ง 29

  30. งานวิจัย (ต่อ) • ในญี่ปุ่นมีศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ- ตั้งชื่อให้อาจารย์ อาทิ ศูนย์วิจัยทานากะ และศูนย์อูเอโนะ เป็นต้น - อาจารย์ผู้อำนวยการศูนย์ได้รับเงินพิเศษ ปีละเป็นล้านบาท - ศูนย์ต้องมีนักศึกษาปริญญาเอกและโท จำนวนหนึ่ง- ถ้าไม่มีผลงานก็อาจจะถูกยุบศูนย์ 30

  31. งานวิจัย (ต่อ) • ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สร้างอาคาร “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”- มูลค่า 670 ล้านบาท - 12 ชั้น 12,000 ตารางเมตร- มีคอมพิวเตอร์เป็นพันเครื่อง - มีห้องวิดีโอคอนเฟอเร้นซ์ - มีห้องมินิเธียเตอร์ - ฯลฯ 31

  32. “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” 32

  33. 3.1.3 งานบริการวิชาการ • อาทิ - เป็นประธานกรรมการและกรรมการต่างๆ ให้หน่วยงานของรัฐ - เป็นนายกและกรรมการสมาคมวิชาการ- เป็นที่ปรึกษาหน่วยงานรัฐบาล - เป็นที่ปรึกษาวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร์ 33

  34. งานบริการวิชาการ (ต่อ) - เป็นที่ปรึกษาศาล - เป็นผู้จัดรายการโทรทัศน์และวิทยุ- เป็นผู้เขียนบทความวิชาการลงหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร - ฯลฯ 34

  35. งานบริการวิชาการ (ต่อ) • ตัวอย่างผลงานบริการวิชาการของผมเอง อาทิ- นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ * พ.ศ. 2543-2545  * พ.ศ. 2545-2547 * พ.ศ. 2549-2551 * พ.ศ. 2551-2553 และนายกกิตติมศักดิ์สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์พ.ศ. 2547-2549 35

  36. งานบริการวิชาการ(ต่อ) • นายกสมาคมอินเทอร์เน็ต • นายกสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย • นายกสมาคมคอมพิวเตอร์นานาชาติเอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย 36

  37. งานบริการวิชาการ(ต่อ) • - นายกสาขาร่วมแห่งประเทศไทยสมาคมคอมพิวเตอร์ และสมาคมการจัดการงานวิศวกรรม แห่งสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • นายกสมาคมธุรกิจอินเทอร์เน็ตไทย • นายกสมาคมการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก 37

  38. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ดำเนินรายการ"อินเทอร์เน็ตไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน" AM 819 ทุกวันจันทร์เวลา 14.10 - 15.00 น. - ผู้ดำเนินรายการ"สนทนาภาษาไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน“FM 92.5 และ AM 891 ทุกวันจันทร์ เวลา 14.00 – 15.00 น. 38

  39. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์"อินเทอร์เน็ตไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน" UBC ช่อง DLTV 9 หรือ DSTV 89 ทุกวันอาทิตย์เวลา 12.00 - 13.00 น. 39

  40. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานมูลนิธิศ.ดร. ศรีศักดิ์จามรมาน - ประธานกรรมการอาวุโสมูลนิธิสหวิทยาการ เพื่อการวิจัยและพัฒนา- ประธานบรรณาธิการ International Journal of Computer, the Internet and Management (IJCIM) 40

  41. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการลิขสิทธิ์ แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์- ประธานอนุกรรม การส่งเสริมการคุ้มครองลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ในคณะกรรมการลิขสิทธิ์แห่งชาติ- ที่ปรึกษาคณะกรรมการกำกับการพัฒนาเว็บไซต์ ของกรุงเทพมหานคร 41

  42. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานกรรมการคณะกรรมการประสานเชื่อมโยง และจัดวางระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานวิชาการ ต่างๆและจัดวางกลไกการใช้ข้อมูล สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ- ที่ปรึกษาคณะกรรมการสร้างกลไกการมีส่วนร่วม จากภาคประชาชนเพื่อสนับสนุนการทำงาน ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการสร้างองค์กรการเรียนรู้ของภาคประชาชน สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 42

  43. งานบริการวิชาการ(ต่อ) • - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขานักออกแบบเว็บไซต์ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร • เป็นประธาน 43

  44. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 44

  45. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาพนักงานคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย(ออร์เธอร์แวร์) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขานักเขียนโปรแกรมเว็บแบบโต้ตอบ 45

  46. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานจัดการประกวดซอฟต์แวร์ฟอนต์ภาษาไทย กระทรวงพาณิชย์ - ประธานจัดสัมมนา International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society* พ.ศ. 2547 * พ.ศ. 2548 * พ.ศ. 2549 * พ.ศ. 2550* พ.ศ. 2551 46

  47. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - กรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพิจารณา แต่งตั้งโดยนายกราชบัณฑิตยสถาน - ประธานอาวุโสมูลนิธิสหวิทยาการ เพื่อการวิจัยและพัฒนา - เคยเป็นประธานคณะกรรมการจัดสัมมนาeBusiness 2005และสัมมนาeIndustry 2005 - เคยเป็นประธานกรรมการออกข้อกำหนด ระบบทะเบียนการค้ากระทรวงพาณิชย์ 47

  48. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นประธานกรรมการหลักสูตรคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคมทบวงมหาวิทยาลัย- เคยเป็นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอินเทอร์เน็ต และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - เคยเป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ @Internet 48

  49. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นรองประธานกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ สภาผู้แทนราษฎร- เคยเป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์กรรมาธิการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร- เคยเป็นที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การทะเบียนแห่งชาติ 49

  50. งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นที่ปรึกษาคณะทำงานด้านบูรณาการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสื่อสาร การทะเบียน - เคยเป็นประธานคณะทำงานด้านซอฟต์แวร์ และบุคลากรสารสนเทศสภาการศึกษาแห่งชาติ - เคยเป็นหัวหน้าโครงการนำร่อง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสนับสนุนการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ 50

More Related