1 / 14

การใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกร

การใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกร. โดย นางสาวสุรัตน์ วิริยะ. ตาราง : แสดง โภชนะและองค์ประกอบทางเคมี องค์ประกอบทางเคมี (%)

Download Presentation

การใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกรการใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกร โดย นางสาวสุรัตน์ วิริยะ

  2. ตาราง : แสดง โภชนะและองค์ประกอบทางเคมี องค์ประกอบทางเคมี (%) วัตถุดิบ วัตถุแห้งความชื้นโปรตีนไขมัน กาก เถ้า คาร์โบไฮเดรต แคลเซียม ฟอสฟอรัส สารอาหารย่อยได้ รำสด4/ - 12 12 12.5 - 10.9 - 0.06 0.47 72 ปลายข้าว2/ 88.3 12 7.5 0.9 - 0.7 - 0.03 0.04 70 ข้าวเปลือกเจ้า1/ 88.8 - 7.9 0.09 - 6.47 - - - 81.6 ข้าวเปลือกเหนียว3/ - 12.88 8.0 2.31 8.84 4.67 65.50 0.03 0.18 - ที่มา: 1/ จินดา และคณะ (2543) ;2/ ศรเทพ และคณะ (2539) ; 3/ ธาตรี (2543) ; 4/ กองอาหารสัตว์ (มปพ.)

  3. การแปรรูปข้าวเปลือก 1. ข้าวเปลือกบดนำข้าวเปลือกบดมาบดผ่านตะแกรง รูขนาด 3 มิลลิเมตร 2. ข้าวเปลือกบดแช่น้ำ ใช้ข้าวเปลือกบด 500 กรัม /น้ำ 600 มิลลิลิตร เทใส่โอ่งแล้วเกลี่ยข้าวให้ทั่วให้เสมอกัน แล้วเทน้ำใส่แล้วเปิดด้วยถุงพลาสติกใสทิ้งไว้ 24 ชม. 3. ปลายข้าวเปลือกบดต้ม ใช้ข้าวเปลือกบด 500 กรัม/ น้ำ 1,500 มิลลิลิตร ต้มในกะทะจนเดือด ให้น้ำงวดหายไปจนหมด 4. ข้าวเปลือกบดหมักใช้ข้าวเปลือกบดกับเชื้อแป้งในอัตราส่วน ของข้าวเปลือกบด 500 กรัม/ เชื้อแป้ง 1.5 กรัม น้ำตาลทราย 10 กรัม น้ำ 400 มิลลิลิตร

  4. ตาราง:แสดงการใช้ข้าวเปลือกในสูตรอาหารสัตว์ตาราง:แสดงการใช้ข้าวเปลือกในสูตรอาหารสัตว์ ช่วงอายุ วัตถุดิบที่ใช้ทดแทน ระดับที่ใช้ได้ ที่มา เป็ด 1 - 4 สัปดาห์ ข้าวเปลือกหมัก - เพิ่มศักดิ์ และคณะ (2540) 5 – 18 สัปดาห์ ข้าวเปลือกหมัก 5 % 9 – 12 สัปดาห์ ข้าวเปลือกหมัก 20 % ไก่ไข่ ข้าวเปลือกบด - สุชน และคณะ (2531) สุกร 20 – 55 (กก.) ข้าวเปลือกเหนียว 50 - 55 % สมชาย และคณะ (2529) 20 - 60 (กก.) ข้าวเปลือกเหนียวบด 40 % เก็จมาศ และคณะ (2530) 60 – 100 (กก.) ข้าวเปลือกเหนียวบด 50 % 25 – 90 (กก.) ข้าวเปลือกเหนียว 25 -50 % สุกัญญา และคณะ (2530)

  5. การใช้ข้าวเปลือกเป็นอาหารเสริมในสุกรรุ่นและขุนการใช้ข้าวเปลือกเป็นอาหารเสริมในสุกรรุ่นและขุน

  6. ตาราง : แสดงสมรรถภาพในการผลิตของสุกรที่ได้รับอาหารทดลองที่มี ข้าวเปลือกเหนียวในระดับต่างๆ ลักษณะ ชนิดอาหาร 1 2 3 4 5 อัตราการเจริญเติบโต (เฉลี่ยกรัม/ตัว/วัน) ระยะสุกรรุ่น 599ก 674ขค 703ค 655กขค 611กข ระยะสุกรขุน 473 621 567 534 495 ตลอดการทดลอง 545 644 644 603 572 ปริมาณอาหารที่กิน (เฉลี่ยกรัม/ตัว/วัน) ระยะสุกรรุ่น 1.55ง 1.92จ 1.98จ 1.96จ 1.97ฉ ระยะสุกรขุน 1.83 2.41 3.28 2.33 2.32 ตลอดการทดลอง 1.67 2.13จ 2.11จ 2.12จ 2.12จ อัตราการเปลี่ยนอาหาร ระยะสุกรรุ่น 2.59ง 2.85งจ 2.81งจ 3.00งฉ 3.24จ ระยะสุกรขุน 4.15 3.91 4.05 4.47 4.69 ตลอดการทดลอง 3.07ง 3.30 3.27งจ 3.52จฉ 3.79ฉ ที่มา : สุกัญญาและคณะ (2530)

  7. ตาราง : แสดงค่าเฉลี่ยผลการทดลองสุกรที่ได้รับอาหารสูตรต่างๆ ในช่วงน้ำหนัก 20 – 100 กก. ลักษณะ สูตรอาหารทดลองที่ เฉลี่ย 1 2 3 4 5 นน. สิ้นสุดการทดลอง (กก.) 100.55 101.12 100.08 100.50 100.08 100.47 นน. เพิ่มขึ้น (กก.) 80.30 80.70 79.55 80.73 80.22 80.30 จำนวนวันที่ทดลอง (วัน) 107.17 107.00 108.00 105.17 111.50 107.77 อัตราการเจริญเติบโต (กรัม / วัน) 749.58 757.66 738.39 770.80 726.88 748.66 ปริมาณอาหารที่กินต่อตัว (กก.) สภาพอาหารเปียก - - 404.85 611.89 357.12 - สภาพอาหารแห้ง 253.15 269.76 258.37 265.60 257.35 260.85 สภาพวัตถุแห้ง 227.03 239.76 229.65 236.20 228.71 232.27 ปริมาณอาหารที่กินต่อวัน (กก.) สภาพอาหารเปียก - - 3.75 5.82 3.02 - สภาพอาหารแห้ง 2.36 2.53 2.39 2.54 2.32 2.43 สภาพวัตถุแห้ง 2.12 2.25 2.13 2.26 2.06 2.16 อัตราการเปลี่ยนอาหาร สภาพอาหารเปียก - - 5.09 7.58 4.45 - สภาพอาหารแห้ง 3.15 3.34 3.25 3.29 3.12 3.25 สภาพวัตถุแห้ง 2.38 2.97 2.89 2.93 2.85 2.89 ที่มา : สมชาย และคณะ (2529)

  8. ตาราง : สมรรถภาพการผลิตของสุกรที่ได้รับอาหารทดลองสูตรต่าง ๆ ลักษณะ สูตรอาหารทดลองที่ เฉลี่ย 1 2 3 4 5 น้ำหนักสุกร (เฉลี่ยกรัม/ตัว) น้ำหนักเริ่มต้น 19.87 19.85 19.82 19.83 19.80 19.83 น้ำหนักสุกรรุ่น 59.98 60.32 60.23 60.27 60.23 60.21 น้ำหนักสุกรสุดท้าย 90.57 90.08 90.25 90.32 90.10 90.26 อัตราการเจริญเติบโต (เฉลี่ยกรัม/ตัว/วัน) ช่วงสุกรรุ่น 570.05 541.99 552.73 544.50 528.47 541.55 ช่วงสุกรขุน 717.04 639.73 346.18 628.78 705.12 667.3 ตลอดการทดลอง 623.34 578.66 587.33 576.10 589.46 590.68 ปริมาณอาหารที่กินต่อตัว (เฉลี่ยกรัม/ตัว/วัน) ช่วงสุกรรุ่น 110.90ข 126.16ก 124.54ก 126.33ก 131.11ก 123.81 ช่วงสุกรขุน 105.57ข 127.28ก 1246.6ก 121.16ก 120.01กข 119.74 ตลอดการทดลอง 216.47ข 253.45ก 249.02ก 249.20ก 251.12ก 243.55 ปริมาณอาหารที่กินต่อวัน (เฉลี่ยกรัม/ตัว/วัน) ช่วงสุกรรุ่น 1.57 1.69 1.70 1.70 1.70 1.67 ช่วงสุกรขุน 2.44ข 2.71ก 2.66กข 2.66กข 2.83ก 3.63 ตลอดการทดลอง 1.91ข 2.08ก 2.07ก 2.02ก 2.10ก 2.04 อัตราการเปลี่ยนอาหาร ช่วงสุกรรุ่น 2.77ข 3.12ก 3.08ก 3.12ก 3.24ก 3.07 ช่วงสุกรขุน 3.45ข 4.28ก 4.15ก 4.03 ก 4.02ก 3.99 ตลอดการทดลอง 3.06ข 3.61ก 3.54ก 3.51ก 3.57ก 3.46 ที่มา : เก็จมาศ และคณะ (2530)

  9. การใช้ข้าวเปลือกเป็นอาหารเสริมในสัตว์ปีกการใช้ข้าวเปลือกเป็นอาหารเสริมในสัตว์ปีก

  10. ตาราง:Me values of ground paddy at different levels of replacemeat in basal diet and the estimated values obtained by linear regression analysis in poultry diets. Level of ground paddy in diets (%) Ground paddy ME of diet(KJ/g) 0 12.126 15 11.50 30 11.029 45 10.583 ค่าเฉลี่ย - 100 8.7791 100 10.5932 ที่มา : สุชน และคณะ (2531)

  11. ตารางที่ 8Performance and economic responses of growing ducks fed diets containing graded livels of fermented rice hulls Composition Levels of Fermented Rice Hulls (%) 0 5 10 15 20 Live weight, g/b (4 Weeks) 1,117 1,078 1,059 1,062 1,028 (8 Weeks) 2,308a 2,313a 2,228ab 2,178ab 2,087b (12 Weeks) 2,627ab 2,697a 2,559ab 2,589b 2,492b Weight gain, g (1 – 4 weeks) 1,071 1,031 1,012 1,017 1,008 (5– 8 weeks) 1,192a 1,225a 1,169ab 1,112b 1,060b (9 – 12 weeks) 301a 383bc 331ab 440c 405c (1 – 12 weeks) 2,564 2,639 2,512 2,539 2,472 Feed intake, g (1 – 4 weeks) 2,632 2,751 2,804 2,845 2,832 (5– 8 weeks) 5,613a 6,165b 6,309bc 6,771d 6,631cd (9 – 12 weeks) 5,607a 6,393b 6,791b 8,107c 8,045c (1 – 12 weeks) 13,852a 15,309b 15,904b 17,722c 17,508c Feed conversionRatio (1 – 4 weeks) 2.47a 2.67ab 2.78b 2.81b 2.83b (5– 8 weeks) 4.72a 5.04ab 5.40b 6.13c 6.35c (9 – 12 weeks) 19.07 16.75 20.53 19.90 20.29 (1 – 12 weeks) 5.41a 5.81b 6.33c 7.00d 7.09d ที่มา : เพิ่มศักดิ์ และคณะ (2540)

  12. สรุปและข้อเสนอแนะ การใช้ข้าวเปลือกเป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่าสามารถใช้ทดแทนรำและปลายข้าวที่ระดับ 50 % ในสูตรอาหารสุกรรุ่น และขุน โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิต และในไก่ไข่ไม่สามารถใช้ได้เนื่องจากทำให้ค่าพลังงานใช้ประโยชน์ลดต่ำลงกว่าสูตรปกติ ส่วนในเป็ดขุนอายุ 0 – 12 สัปดาห์ สามารถใช้ข้าวเปลือกหมักได้ในระดับ ไม่เกิน 10 % ในสูตรอาหารโดยไม่มีผลต่อน้ำหนักมีชีวิต แต่อัตราการเจริญเติบโต ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเปลี่ยนอาหาร อาหารต่อตัว และกำไรต่อตัว ต่ำกว่าการไม่ใช้

  13. ข้าวเปลือกสามารถนำมาแปรรูป เช่น การบด การหมัก การแช่น้ำ และการต้มใช้ได้ในสุกรโดย ในข้าวเปลือกจะมีแกลบมาก อาจเกิดการระคายเคืองจากฝุ่นผง ส่งผลทำให้สัตว์กินอาหารได้น้อยลง และการใช้ในสูตรอาหารสัตว์ปีก จะก็เกิดปัญหา ค่าพลังงานใช้ประโยชน์ในสูตรอาหารลดลง และไม่ควรนำมาใช้เลี้ยงสุกร และสัตว์ปีกระยะเล็ก ควรนำไปใช้กับสัตว์ที่อยู่ในวัยเจริญเติบโตรูปแบบและระดับที่เหมาะสม จึงจะส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตไปในทางที่ดีขึ้น

  14. จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ

More Related