1 / 53

Agenda

Agenda. 1. System 2. Situation and Trend of Electricity Supply 3. Electricity Generation by Renewable Energy Source 4. Investment Analysis 5. Comment and Suggestion. SYSTEM. Renewable Power Plant in Thailand for Commercial. Situation and Trend of Electricity Supply.

lara
Download Presentation

Agenda

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Agenda 1. System 2. Situation and Trend of Electricity Supply 3. Electricity Generation by Renewable Energy Source 4. Investment Analysis 5. Comment and Suggestion

  2. SYSTEM Renewable Power Plant in Thailand for Commercial

  3. Situation and Trend of Electricity Supply

  4. Today’s Energy Challenge Rising Demand Europe and North America China 11% 31% 105% 195% India M. East and Africa 126% 282% 73% 131%

  5. Today’s Energy Challenges: Fuel costs, climate change, supply • Volatile fuel costs • Climate change • Access to affordable energy • Security of energy supply Source: Bloomberg Source: NASAGlobal mean surface temperature anomaly relative to 1961-1990

  6. Trend of Investment cost for Solar Cells

  7. World Electricity Flow Only 20% of primary energy sources’potential is used to generate economic value The rest is lost to conversion processes, transportation and operational inefficiencies

  8. Thailand Electricity Flow

  9. Electricity Overview - Power Output By Type of Power Plant พลังงานทดแทน1.4% กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551) 29,891.7 เมกะวัตต์ ถ่านหินนำเข้า8.2% น้ำมันเตา1.0% พลังความร้อนร่วม15,602.0 MW 52.2% พลังความร้อน8,965.6 MW 30.0% ก๊าซธรรมชาติ 70.0 % ลิกไนต์12.6% By Producer By Fuel Type พลังน้ำ 3,424.2 MW 11.5% กฟผ.15,021.0 MW 50.3% พลังงานทดแทน288.1 MW 0.9% IPP12,151.6 MW40.7% พลังน้ำ4.7% ดีเซล 0.2 % กังหันแก๊สและเครื่องยนต์ดีเซล 971.4 MW 3.3% สปป. ลาว 1.6% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1% SPP2,079.1 MW7.0% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% มาเลเซีย 0.3 % สปป. ลาว 340 MW 1.1% ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์ รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197 ล้านหน่วย

  10. Electricity Overview - Load Profiles

  11. Electricity Overview - EE Structure

  12. Structure of Renewable Energy โครงสร้างระบบพลังงานไฟฟ้า โครงสร้างพลังงานทางเลือก โครงสร้างระบบพลังงานความร้อน โครงสร้างระบบเชื้อเพลิง

  13. Structure of Renewable Energy โครงสร้างระบบพลังงานไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้าเป็นโรงงานขนาดใหญ่ และเป็นแบบรวมศูนย์ โดยจ่ายไฟฟ้าไปตามระบบส่งและระบบจำหน่าย เพื่อขายไฟฟ้าให้กับชุมชน EGAT เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าหลักของประเทศ และเป็นเจ้าของระบบเชื่อมต่อสายส่งในประเทศทั้งหมด EGAT ขายไฟฟ้าให้ PEA และ MEA

  14. Structure of Renewable Energy โครงสร้างระบบพลังงานความร้อน เป็นโครงสร้างแบบกระจายศูนย์ ซึ่งเป็นโครงสร้างที่เหมาะสม ควรคำนึงถึงการนำความร้อนที่เหลือทิ้งจากกระบวนการต่าง ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โครงสร้างระบบเชื้อเพลิง เป็นโครงสร้างแบบรวมศูนย์ คล้ายโครงสร้างระบบไฟฟ้า

  15. POLICY

  16. Policy from Government นโยบายพลังงานที่อยู่ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ  นายกรัฐมนตรี ได้แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 2551 • (1) พัฒนาพลังงานให้ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น • โดยจัดหาพลังงานให้เพียงพอ มีเสถียรภาพ • เร่งสำรวจและพัฒนาแหล่งพลังงานประเภทต่าง ๆ • เจรจากับประเทศเพื่อนบ้านในระดับรัฐบาลเพื่อร่วมพัฒนาแหล่งพลังงาน • ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพ • โดยเฉพาะโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กและขนาดเล็กมาก • ศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกอื่น ๆ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้า

  17. Policy from Government • (2)ดำเนินการให้นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ • สนับสนุนการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน โดยเฉพาะการพัฒนาเชื้อเพลิง • ชีวภาพและชีวมวล ไบโอดีเซล ขยะ และมูลสัตว์ เป็นต้น • สนับสนุนการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่งให้มากขึ้น • ส่งเสริมและวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบอย่างจริงจังและต่อเนื่อง • (3)  กำกับดูแลราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ • และเป็นธรรมต่อประชาชน • กำหนดโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงที่เหมาะสม และสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงมากที่สุด • บริหารจัดการผ่านกลไกตลาดและกองทุนน้ำมัน • พัฒนาคุณภาพการให้บริการและความปลอดภัย

  18. Policy from Government • (4)  ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน • ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการ และขนส่ง • รณรงค์ให้เกิดวินัยและสร้างจิตสำนึกในการประหยัดพลังงาน • สนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • มีมาตรการจูงใจในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน • มาตรการสนับสนุนครัวเรือนลดการใช้ไฟฟ้าในช่วงการใช้ไฟฟ้าสูงสุด • การวิจัยพัฒนา กำหนดมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอาคารประหยัดพลังงาน • สนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน และการขนส่งระบบราง • (5)  ส่งเสริมการจัดหาและการใช้พลังงานที่ให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน • กำหนดมาตรฐานด้านต่างๆ • ส่งเสริมให้เกิดโครงการกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด

  19. ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ผลการศึกษา เบื้องต้น นโยบาย Optimization โดย Computer Software “Strategist” ข้อมูลระบบไฟฟ้า พยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า ข้อมูลเชื้อเพลิง กระทรวงพลังงาน 20

  20. ค่าใช้จ่ายรวม ค่าใช้จ่าย Outage Cost + Social Cost ค่าก่อสร้าง + ค่าเชื้อเพลิง + O&M กำลังผลิตสำรอง PDP 2007 – Electricity Investment& System Stability • กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 15% • ตัวชี้วัดโอกาสไฟฟ้าดับ (Loss of Load Probability: LOLP) ไม่เกิน 24 ชั่วโมงต่อปี

  21. Producing and Externality Cost การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตไฟฟ้า และต้นทุนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

  22. Adder for RE power production sorted By type and capacity

  23. PDP 2007 - Electrical Power Forecasts เมกะวัตต์ กันยายน 50 ธันวาคม 51 กรณีฐาน

  24. ล้านหน่วย 5% 3% 2% 2% 10% 10% 9% 2% 9% 2% 8% 15% 2% 16% 7% 17% 3% 18% 7% 3% 6% 19% 6% 6% 15% 3% 7% 11% 6% 2% 7% 11% 2% 7% 7% 2% 8% 8% 10% 6% 5% 9% 10% 9% 9% 8% 8% 10% 11% 11% 11% 60% 63% 61% 62% 69% 68% 65% 61% 69% 73% 70% 69% 67% 4% 4% 4% 3% 3% 3% 3% 3% 3% 2% 2% 2% 2% ปี สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง (PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)

  25. REDP 2008-2022

  26. Potential and Target of RE in Thailand

  27. PDP 2007 - Project Plan (2552-2557)

  28. Strategic Control ตัวชี้วัด หรือ KPI เพื่อผลักดันให้นโยบายด้านพลังงานต่างๆ • 1. ด้านการปรับโครงสร้างกิจการพลังงาน • ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการจัดตั้งองค์กรกำกับกิจการพลังงานในวาระเริ่มแรก • 2. ด้านความมั่นคงพลังงาน • ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จการจัดหาก๊าซธรรมชาติจากในและต่างประเทศ • ตัวชี้วัดเพิ่มการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน • 3. ด้านการประหยัดพลังงานและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนอนุรักษ์พลังงานในภาคขนส่ง • ตัวชี้วัดการกำหนดมาตรฐานประสิทธิภาพขั้นต่ำของอุปกรณ์ไฟฟ้า

  29. Strategic Control • 4. ด้านการส่งเสริมพลังงานทดแทนของประเทศ • ตัวชี้วัดการผลักดันการใช้ก๊าซ NGV ในรถยนต์ • ตัวชี้วัดปริมาณการจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ • ตัวชี้วัดระดับการพัฒนาผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (ขยะ พลังงานแสงอาทิตย์) • 5. ด้านการปรับโครงสร้างราคา • ตัวชี้วัดความสำเร็จจากการแก้ไขปัญหาการชดเชยราคาก๊าซหุงต้ม(LPG) • 6. ด้านเทคโนโลยีพลังงานสะอาด • ตัวชี้วัดความสำเร็จในการให้ความรู้ด้านความจำเป็นของทางเลือกเชื้อเพลิงในอนาคต อาทิ นิวเคลียร์ และถ่านหินสะอาด • 7. ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน • ตัวชี้วัดความสำเร็จจากการตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนรอบโรงไฟฟ้า และความสำเร็จในการสร้างและรักษาภาพลักษณ์และคุณภาพบุคลากรของกระทรวงพลังงาน

  30. Growth VS Energy Use and Emissions • reduce the correlation between economic growth and energy use • reduce the correlation between energy use and emissions Meeting these challenges requires all to: Renewable sources of energy Energy Efficiency

  31. Electricity Generation by Renewable Energy Source

  32. พลังงานหมุนเวียน พลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติ เมื่อใช้หมดไปแล้วสามารถผลิตทดแทนได้ใหม่ในระยะเวลาอันสั้น เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังน้ำ พลังงานคลื่นทะเลหรือ มหาสมุทร พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานชีวมวล พลังงานจากก๊าซชีวภาพ รวมถึงพลังงานขั้นที่สองที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียนตามที่กล่าวมา เช่น เชื้อเพลิงจากพืช(Biofuel)เซลล์เชื้อเพลิง เป็นต้น

  33. พลังงานหมุนเวียน พลังงานแสงแดด พลังงานลม พลังงาน หมุนเวียน พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล พลังงานใต้พิภพ

  34. Potential of Renewable Energy พลังงานแสงอาทิตย์ • ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์กำลังสูตร มีแสงอาทิตย์อย่างสม่ำเสมอ • ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยรายวัน ประมาณ 18.2 MJ/m2.day • ศักยภาพเชิงพลังงาน 554,070.60 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ • ปัจจุบันใช้ประโยชน์ประมาณ 4.40 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

  35. Example – Solar Cells Payback Period

  36. Potential of Renewable Energy พลังงานลม • ศักยภาพต่ำถ้าเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรป • ความเร็วลมที่ใช้ผลิตไฟฟ้าเริ่มตั้งแต่ 4 m/s แต่จะคุ้มทุนที่ 7 m/s (บริเวณพื้นที่ราบชายฝั่งทะเลอ่าวไทยเฉลี่ย 5 m/s) • ศักยภาพเชิงพลังงาน 12.30 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ • ติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้า 1,600 MW ปัจจุบันติดตั้งเพียง 0.55 MW

  37. Potential of Renewable Energy พลังงานน้ำ • การประยุกต์ใช้พลังงานน้ำมีปัญหาด้านการทำลายสิ่งแวดล้อม และมักถูกต่อต้านจากประชาชน • ศักยภาพเชิงพลังงาน 1,540.70 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ • ปัจจุบันใช้ประโยชน์ 6,040 GW หรือ 1,338 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

  38. Potential of Renewable Energy พลังงานชีวมวล • ศักยภาพสูงเมื่อเทียบกับพลังงานอื่น • มีความหลากหลาย จำแนกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ขยะ ก๊าซชีวภาพ ไบโอดีเซล เอทานอล • ปัจจุบันใช้ประโยชน์6,040 GW หรือ 1,338 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

  39. Potential of Renewable Energy พลังงานชีวมวล ได้แก่ 1. วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร • ส่วนใหญ่ได้จากยอดและใบของอ้อย รองลงมา คือ ฟางข้าวและชายอ้อย • ศักยภาพเชิงพลังงาน 17,100 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ 2. ขยะ • ศักยภาพเชิงพลังงาน 95.5 MW ปัจจุบันใช้เพียง 4 MW เนื่องจากมีปัญหาเรื่องการเก็บรวบรวมและการแยกขยะ

  40. Potential of Renewable Energy 3. ก๊าซชีวภาพ • เกิดจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบ Anaerobic Process • องค์ประกอบหลัก คือ CH4 และ CO2 • แหล่งของสารอินทรีย์ คือ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม • ศักยภาพเชิงพลังงาน 537.90 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ ปัจจุบันใช้ประโยชน์เพียง 47.50 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

  41. Potential of Renewable Energy พลังงานความร้อนใต้พิภพ • ศักยภาพปานกลาง 525.6 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ • การใช้ประโยชน์ยังอยู่ในวงจำกัด • ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์โดยชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ เพื่อประโยชน์เล็กน้อย เช่น แหล่งท่องเที่ยว

  42. ANALYSIS

  43. Potentialof RE Arable Areas Solar Wind Hydro

  44. PEST Analysis • รัฐบาลมีบทบาทกำหนดควบคุมมาก • รัฐสนับสนุนให้ใช้พลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า • ความไม่เสถียรภาพทางการเมืองต่อนโยบาย • กฎหมาย และพระราชบัญญัติต่างๆ • มาตรการทางภาษี • การจ่ายส่วนเพิ่มให้กับผู้ผลิตเอกชน • ผลจากการปรับตัวของดอกเบี้ยที่ต่ำลงทำให้เกิดการขยายการลงทุนมากขึ้น • จำนวนโครงการขอ BOI 929โครงการใน 3 ไตรมาสที่ผ่านมา เป็นสัญญาณที่ดีของการฟื้นตัวเศรษฐกิจ P E S T • เทคโนโลยีช่วยการผลิตพลังงานไฟฟ้าทดแทนมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ช่วยให้ต้นทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าทดแทนต่ำลง สามารถผลิตเชิงพาณิชย์ได้มากขึ้น • การต่อต้านการตั้งโรงงานในชุมชน • ค่านิยมการบริโภคในปัจจุบันที่มีความต้องการเพิ่มขึ้น และสิ้นเปลืองมากขึ้น ส่งผลให้เกิดการใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น

  45. Problem & Suggestion

  46. Problem & Suggestion

  47. SUGGESTION

  48. ข้อเสนอแนะและนโยบายพลังงานทดแทนข้อเสนอแนะและนโยบายพลังงานทดแทน ด้านนโยบาย

More Related