1 / 42

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดเพชรบุรี

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดเพชรบุรี. นักส่งเสริมการเกษตร. ผู้บริหารจัดการในพื้นที่เกษตร. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง. MRCF. ที่ตั้งและอาณาเขต. พื้นที่.

latoya
Download Presentation

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดเพชรบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดเพชรบุรี

  2. นักส่งเสริมการเกษตร ผู้บริหารจัดการในพื้นที่เกษตร ผู้นำการเปลี่ยนแปลง MRCF

  3. ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลาง ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลอ่าวไทยตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาคกลางอาณาเขตติดต่อจังหวัดใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้ • ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี และอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม • ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ • ทิศตะวันออกติดต่อกับ อ่าวไทย • ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พม่า

  4. เขตการปกครอง

  5. เขตที่ 2 เขตที่ 1 เขตที่ 3 ลักษณะภูมิประเทศ เขตที่ 1 เป็นภูเขาและที่ราบสูง เขตที่ 2 เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ เขตที่ 3เป็นที่ราบชายฝั่ง

  6. แหล่งน้ำ และ ระบบชลประทาน คลองส่งน้ำสายหลัก 4 สายพื้นที่รับน้ำ (47%) 462,837 ไร่ คลองส่งน้ำ

  7. ชลประทาน • ชุดดิน • แหล่งน้ำ • โซนนิ่งการเกษตร

  8. สินค้า ข้าว 401,285 ไร่

  9. มะนาว 34,885 ไร่

  10. กล้วยหอมทอง 59,789 ไร่

  11. ข้อมูลสินค้า สับปะรด 101,255 ไร่

  12. ข้อมูลสินค้า ชมพู่เพชรสายรุ้ง 712 ไร่

  13. ตาลโตนด 341,589ต้น

  14. สินค้าเกษตรที่สำคัญ

  15. ครัวเรือนเกษตรกร ทำนา24,924 ครัวเรือน

  16. ทำไร่10,033ครัวเรือน

  17. ไม้ผล ไม้ยืนต้น22,365ครัวเรือน

  18. ปลูกผัก 7,674ครัวเรือน

  19. ไม้ดอกไม้ประดับ 528ครัวเรือน

  20. ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ 4,010ครัวเรือน

  21. ประมง3,017 ครัวเรือน

  22. ปลูกป่า 985ครัวเรือน

  23. ครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามอาชีพครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามอาชีพ

  24. กลุ่ม/องค์กรด้านการเกษตรกลุ่ม/องค์กรด้านการเกษตร วิสาหกิจชุมชน 226แห่ง

  25. แม่บ้านเกษตรกร 66กลุ่ม

  26. ยุวเกษตรกร 67กลุ่ม

  27. กลุ่มส่งเสริมอาชีพ 48กลุ่ม

  28. ศูนย์ข้าวชุมชน 57ศูนย์

  29. กลุ่มแม่บ้าน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ฯ 21กลุ่ม

  30. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน 28ศูนย์

  31. กลุ่ม/องค์กรด้านการเกษตรกลุ่ม/องค์กรด้านการเกษตร ของชุมชน

  32. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ กรณี ข้าว

  33. พื้นที่ Zoning ตามความเหมาะสม ของการปลูกข้าว

  34. การผลิตข้าว ของจังหวัดเพชรบุรี ข้าวนาปี 401,285 ไร่ ข้าวนาปรัง 262,669 ไร่

  35. การตรวจสอบหาความเหมาะสมของการปลูกข้าวในพื้นที่จริงการตรวจสอบหาความเหมาะสมของการปลูกข้าวในพื้นที่จริง

  36. 112,101 59,542 46,600 46,354 35,524 21,111 5,395 17,150 9,941 2,836 10,237 6,537 4,909 1,238 0 0 7,058 1,337 2,769 345 1,171 3,664 4,922 4,161 3,419 1,902 0 2,180 156 0 0 0 อ.บ้านลาด อ.ชะอำ อ.แก่งกระจาน อ.เมือง อ.หนองหญ้าปล้อง อ.ท่ายาง อ.เขาย้อย อ.บ้านแหลม

  37. Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) ในอำเภอต่างๆ SF = 2 ราย ข้อมูลชาวนา SF = 0 ราย SF = 1 ราย SF = 185 ราย ชาวนา 24,926 ครัวเรือนSmart Farmer 1,628 รายDeveloping 23,044รายต้นแบบด้านข้าว 254 ราย SF = 15 ราย SF = 2 ราย SF = 24 ราย SF = 25 ราย

  38. SUPPLY สถานการณ์การผลิตข้าว ผลผลิตรวม/ปี 492,238ตัน พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 401,285 ไร่ ผลผลิต 293,339 ตัน ผลผลิต เฉลี่ย 731 กก. ต่อ ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 262,669 ไร่ ผลผลิต 198,899 ตัน ผลผลิต เฉลี่ย 757กก. ต่อ ไร่

  39. Demand โรงสีข้าว ในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 32 แห่ง

  40. การกระจายผลผลิต (458,667 ตัน) ผลผลิต492,238 ตัน (24,317 ตัน) (8,171 ตัน) (1,083ตัน)

  41. พื้นที่โซนนิ่งที่เหมาะสมในการปลูกข้าว S1+S2 จำนวน 464,471ไร่ • พื้นที่โซนนิ่ง ที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 816,080 ไร่ • พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่เหมาะสม S1+S2 จำนวน 354,032 ไร่ • พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม S3+N จำนวน 69,069 ไร่

  42. สรุปแนวทางในการพัฒนา

More Related