1 / 13

การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่

แบบฝึกหัด. การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่. คำแนะนำ. นักเรียนควรลองทำแบบฝึกหัดดูก่อนนะคะ จากนั้นค่อยดูเฉลยว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องควรลองทำใหม่ เมื่อทำไม่ได้จริงๆ จึงค่อยดูเฉลยละเอียด. เฉลยละเอียด.

Download Presentation

การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบฝึกหัด การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่

  2. คำแนะนำ นักเรียนควรลองทำแบบฝึกหัดดูก่อนนะคะ จากนั้นค่อยดูเฉลยว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องควรลองทำใหม่ เมื่อทำไม่ได้จริงๆ จึงค่อยดูเฉลยละเอียด

  3. เฉลยละเอียด 1. สารละลายกรดแก่ HCl ปริมาตร 3 dm3 มี HCl ละลายอยู่ 73 กรัม จะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนเท่าใด (มวลอะตอม H = 1, Cl = 35.5) 1. 0.25 mol/dm3 2. 0.50 mol/dm3 3. 0.67 mol/dm3 4. 1.34 mol/dm3

  4. ไม่ถูกต้อง ลองใหม่อีกครั้ง ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น

  5. ถูกต้อง เก่งมาก ทำข้อต่อไป

  6. 1. สารละลายกรดแก่ HCl ปริมาตร 3 dm3 มี HCl ละลายอยู่ 73 กรัม จะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนเท่าใด(มวลอะตอม H = 1, Cl = 35.5) แนวคิด หาความเข้มข้นของ HCl ดังนั้น ความเข้มข้นของ HCl =0.67 mol/dm3 HCl เป็นกรดแก่ แตกตัวดังสมการ HCl(aq) + H2O -----> Cl-(aq) + H3O+(aq) 0.67 mol/dm30.67 mol/dm30.67 mol/dm3 ดังนั้น ความเข้มข้นของ H3O+ =0.67 mol/dm3

  7. เฉลยละเอียด 2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 200 cm3 จะมี H3O+ ละลายอยู่กี่โมลและถ้าเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จะมีความเข้มข้นของ H3O+ เป็นเท่าใด 1. 0.1 mol, 0.04 mol/dm3 2. 0.2 mol, 0.08 mol/dm3 3. 0.1 mol, 0.05 mol/dm3 4. 0.5 mol, 1.00 mol/dm3

  8. 2. สารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 200 cm3 จะมี H3O+ ละลายอยู่กี่โมลและถ้าเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จะมีความเข้มข้นของ H3O+ เป็นเท่าใด แนวคิด หาโมลของ H2SO4โดย H2SO4เข้มข้น 0.5 mol/dm3หมายความว่า H2SO4 ปริมาตร 1000 cm3มี H2SO4 0.5 mol H2SO4ปริมาตร 200 cm3มี H2SO4 H2SO4เป็นกรดแก่ แตกตัวดังสมการ H2SO4(aq) + 2H2O -----> SO42-(aq) + 2H3O+(aq) 0.1 mol0.1mol 0.2 mol ดังนั้นโมลของ H3O+ =0.2 mol

  9. หาความเข้มข้นของ H3O+ เมื่อเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 2500 cm3 จากการคำนวณที่ผ่านมาโมลของ H3O+ =0.2 mol จึงหาความเข้มข้นของ H3O+หลังเจือจาง ได้จากหลัก โมลหลังเจือจาง = โมลก่อนเจือจาง นั่นคือ ในสารละลาย 2500 cm3มี H3O+ = 0.2 mol ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ =0.08 mol/dm3

  10. เฉลยละเอียด 3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3ที่มี OH-เข้มข้น0.5 mol/dm3จะต้องใช้ KOH กี่กรัม (มวลอะตอม K=39, H=1, O=16) 1. 2.8 g 2. 3.5 g 3. 5.6 g 4. 8.4 g

  11. 3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย KOH ปริมาตร 300 cm3ที่มี OH-เข้มข้น0.5 mol/dm3จะต้องใช้ KOH กี่กรัม แนวคิด KOH เป็นเบสแก่ที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 [OH-] = [KOH]หรือพิจารณาจากสมการการแตกตัวKOH(aq) ------> K+(aq)+ OH-(aq) 0.5 mol/dm3 0.5 mol/dm3 0.5 mol/dm3 หามวล KOH จากค่าความเข้มข้น สารละลาย KOH 1000 cm3 ใช้ KOH 0.5 molสารละลาย KOH 300 cm3ใช้ KOH ดังนั้นมวล KOH = mol x M.W. = 0.15x56 = 8.4 g

  12. เฉลยละเอียด 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH-เข้มข้น 0.05 mol/dm3ปริมาตร 400 cm3จากสารละลาย Ba(OH)2เข้มข้น 0.5 mol/dm3จะต้องใช้สารละลายBa(OH)2กี่ cm3 1. 5 cm3 2. 10 cm3 3. 20 cm3 4. 40 cm3

  13. 4. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มี OH-เข้มข้น 0.05 mol/dm3ปริมาตร 400 cm3จากสารละลาย Ba(OH)2เข้มข้น 0.5 mol/dm3จะต้องใช้สารละลายBa(OH)2กี่ cm3 แนวคิด จากสมการการแตกตัวBa(OH)2(aq) ------> Ba2+ (aq)+ 2OH-(aq)ความเข้มข้นของ OH-เป็น 2 เท่าของ Ba(OH)2แสดงว่าโจทย์ต้องการเตรียมสารละลาย Ba(OH)2เข้มข้น 0.025 mol/dm3โดยวิธีเจือจาง จาก C1V1 = C2V2 0.5 x V1 = 0.025x 400 ดังนั้นต้องใช้สารละลาย Ba(OH)2 20 cm3

More Related