1 / 28

กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน

ชี้แจงและทำความเข้าใจ การรายงานผลการปฏิบัติงานของ สสจ./สสพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน. ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบกระบวนการภายในชัดเจน

leigh
Download Presentation

กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชี้แจงและทำความเข้าใจชี้แจงและทำความเข้าใจ การรายงานผลการปฏิบัติงานของ สสจ./สสพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน

  2. ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) • สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบกระบวนการภายในชัดเจน • นำแผนการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติเน้นผลผลิต/ผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นอย่างครบถ้วนตามกระบวนงาน • แผนปฏิบัติการและงบประมาณเชื่อมโยงให้สอดคล้องกัน • เอกสารที่ใช้อ้างอิงผลงานชัดเจน เป็นระบบ • ส่งผลถึงตัวชี้วัดในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามประเมินผล การปฏิบัติงาน การปรับเปลี่ยน - ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา - ความพร้อมและศักยภาพของ หน่วยปฏิบัติ - ภารกิจสำคัญที่ต้องดำเนินการ - ภารกิจ/นโยบายใหม่ที่จะ ดำเนินการและพัฒนางานประจำ - ชะลอ/ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ไม่ประหยัด ไม่คุ้มค่า หรือ มีความซ้ำซ้อน - กฎหมายและระเบียบที่รองรับ - แนวโน้มและสถิติย้อนหลังของ ข้อมูลเพื่อการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 1(45 คะแนน) วิเคราะห์ /สังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ในการทำแผน การ ปฏิบัติงาน ควรรู้... • ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายให้ได้ผลงานจริง • มองปัญหาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง • ทบทวนสิ่งที่ปฏิบัติ • หาแนวทางแก้ปัญหา/ปรับปรุงและปัจจัยสนับสนุน • ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจัดลำดับความสำคัญ • สารสนเทศในการทำงาน ข้อมูลระบบงาน การใช้ประโยชน์ที่เหมาะสมทันเวลา ปรับ เปลี่ยน ควรทำ • ปรับเปลี่ยนความรู้สึก • ปรับเปลี่ยนแนวคิด • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • เสริมพฤติกรรมใหม่ ควรเข้าใจ... หลักการติดตามประเมินผล

  3. - ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา - ความพร้อมและศักยภาพของกลุ่ม/ฝ่าย/MU - ภารกิจสำคัญที่ต้องดำเนินการ - ภารกิจ/นโยบายใหม่ที่จะดำเนินการและพัฒนางานประจำ - ชะลอ/ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ไม่ประหยัด ไม่คุ้มค่า หรือมีความซ้ำซ้อน - กฎหมายและระเบียบที่รองรับ - แนวโน้มและสถิติย้อนหลังของข้อมูลเพื่อกำหนดแผนปฏิบัติงาน 1.วิเคราะห์ /สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการทำแผน

  4. การ ปฏิบัติงาน ควรรู้... 2.การปฏิบัติงาน ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) • ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) • สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบ กระบวนการภายในชัดเจน • นำแผนการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติเน้นผลผลิต/ผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นอย่างครบถ้วนตามกระบวนงาน • แผนปฏิบัติการและงบประมาณเชื่อมโยงให้สอดคล้องกัน • เอกสารที่ใช้อ้างอิงผลงานชัดเจน เป็นระบบ • ส่งผลถึงตัวชี้วัดในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ

  5. 3.ติดตามประเมินผล • ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายให้ได้ผลงานจริง • มองปัญหาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง • ทบทวนสิ่งที่ปฏิบัติ • หาแนวทางแก้ปัญหา/ปรับปรุง และปัจจัยสนับสนุน • ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ จัดลำดับความสำคัญ • สารสนเทศในการทำงาน ข้อมูลระบบงาน การใช้ประโยชน์ ที่เหมาะสมทันเวลา ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) ควร เข้าใจ... หลักการติดตามประเมินผล

  6. ปรับ เปลี่ยน 4.การปรับเปลี่ยน ควรทำ ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) • ปรับเปลี่ยนความรู้สึก • ปรับเปลี่ยนแนวคิด • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • เสริมพฤติกรรมใหม่ คะแนนส่วนที่ 1 เน้นพิจารณาจาก 4ข้อ ประกอบกัน

  7. ความสำคัญ ปี 2552 เอกสารงบประมาณ เป้าหมายการปฏิบัติ ภารกิจชัดเจน ผลลัพธ์ / ผลกระทบ ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ • RBM  PMQA  Good Governance • งบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • วัดผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ตอบหน่วยงานอื่นๆใช้ประโยชน์เอง  รองรับการประเมินผล PART

  8. การบริหารราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐRBM (Result Base Management) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ได้รับงบประมาณผู้รับผิดชอบ- คน ตั้งเป้าของแผน-MUกลุ่มฝ่าย ผลสัมฤทธิ์ ได้ทำงานตามแผน ทำสำเร็จเกิดผลลัพธ์ ทำเสร็จเกิดผลผลิต วัตถุประสงค์ (Objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) กิจกรรม (Activities) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) ความประหยัด (ความคุ้มค่า)

  9. ผลสัมฤทธิ์ (Results) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ผลการดำเนินงาน ที่เกิดจากกระบวนการทำงาน ผลการดำเนินงาน ที่เกิดจากการนำผลผลิตไปใช้ประโยชน์ ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) เน้นความรับผิดชอบ (Accountability) การทำงานต่อสหกรณ์-กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานได้ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลสัมฤทธิ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานเป็นหลัก มีการวัดผลชัดเจน ตรวจสอบได้ มีข้อมูลที่ครบถ้วน และมีความน่าเชื่อถือ

  10. ความก้าวหน้า ผลงาน ปัญหาอุปสรรค ความก้าวหน้า รายงาน ผลลัพธ์ วิธีการ ติดตาม ประเมินผล

  11. รายงานความก้าวหน้า เปรียบเทียบเป้าหมาย/ผล ของ งาน – เงิน  ความก้าวหน้ากิจกรรม (ทุกหน่วยนับ) ตามเป้าหมายที่กำหนด จำนวนผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ได้รับจากการดำเนินกิจกรรม  การใช้จ่ายงบประมาณ • บันทึกบนระบบ http..//monitor.go.thทุกเดือน (ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา) มีเอกสารอ้างอิงกระบวนงาน ทะเบียนสรุปผลงาน และแบบรวบรวมข้อมูล

  12. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ (ผลผลิตที่มีคุณภาพ) ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่ คาดหมาย

  13. การจัดสรรงบประมาณของภาครัฐการจัดสรรงบประมาณของภาครัฐ กลุ่มติดตามและประเมินผล • ประสิทธิภาพ • ได้ผลงานตามเป้าหมาย • โดยเป็นผลจากการทำงาน • ของหน่วยงานตามแผนงาน • ที่ได้รับงบประมาณ • ความคุ้มค่า • - ใช้ต้นทุนต่ำ ใช้คน • เวลา และเงิน (รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ ) น้อยสอดคล้องกับคุณภาพของงาน ผลสัมฤทธิ์ - ส่งผลดีต่อ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ประชาชน สิ่งที่รัฐต้องการ จากหน่วยงาน • ประสิทธิผล • งานที่ทำและเงินที่ใช้ไป • ต้องส่งผลลัพธ์ต่อกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต และตัวชี้วัดที่กำหนดตามเอกสารงบประมาณ

  14. องค์ประกอบที่สำคัญของ SPBB 1. มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะ ปานกลาง (MTEF) 4. การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ 2. การเพิ่มขอบเขต ความครอบคลุมของงบประมาณ 5. เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ 6. ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 14

  15. P S BB ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ กับ PART ART ผลการดำเนินงานที่ดี เกิดจากการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่มีความสัมพันธ์ และต่อเนื่องกันทั้งระบบ ผลกระทบ ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ สำนักงบประมาณ

  16. หลัก SPBB : • ทุกบาท +ทุกคน+ทุกกิจกรรม ต้องการอะไร what ผลกระทบ ( IMPACT) ต้องผูกด้วยกัน ทำอย่างไรHow วางแผนงบประมาณ ทำไปทำไม Why ทำอย่างไร How ติดตามประเมินผล ทำอย่างไร How ทำอย่างไร How กิจกรรม (ACTIVITY) ทุกกิจกรรม ต้องรู้เพื่อนำส่ง บริหารงบประมาณ งบประมาณ ( INPUT) ใช้เท่าไหร่ 1. ทุกบาท + ทุกคน 5. 4. ผลลัพธ์ 3. ผลผลิต 2.

  17. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB แผน ผล ระดับ แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ผลกระทบ รัฐบาล ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผน 4 ปี กระทรวง ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผน 4 ปี แผนประจำปี กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน กรม แผนปฏิบัติ งาน สสจ./สสพ. ผลผลิตตามแผน ผลผลิต ที่เกิดขึ้น แผนงาน แผนเงิน กลุ่ม/ฝ่าย/MU กิจกรรม ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น งบประมาณ บริหารงาน /เงิน/คน

  18. วิสัยทัศน์Vision พันธกิจ Mission เป้าประสงค์หลักขององค์กรทุกระดับ SWOT SWOT สภาพแวดล้อมภายใน จุดอ่อน/แข็ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส/อุปสรรค 1 1 2 ทิศทางขององค์กร แผนกลยุทธ์/แผนการส่งเสริม ผลลัพธ์ เป้าหมาย+KPI 2Q2TP กลยุทธ์ระดับกรม 3 1. ภารกิจหลัก 2. ภารกิจสนับสนุน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีและประจำปี ผลผลิต เป้าหมาย+KPI QQCT • กลยุทธ์ระดับสสจ./สสพ. 4 1.1 ภารกิจหลัก 1.2 ภารกิจหลัก 2.1 ภารกิจสนับสนุน • กลยุทธ์ระดับ กลุ่ม /ฝ่าย /MU กิจกรรม เป้าหมาย+KPI QT 5 18 1. 1.1กิจกรรมหลัก 1.2.1 กิจกรรมหลัก 2.1.1 กิจกรรมสนับสนุน

  19. เครื่องมือวิเคราะห์ความสำเร็จ ของการดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ PART Performance the action or process of performing a task or function การดำเนินงาน/กระบวนการที่ปฏิบัติตามหน้าที่รับผิดชอบ การประเมิน Assessment การจัดกลุ่ม/จัดลำดับ โดยพิจารณา จาก คุณภาพ มาตรฐาน และกระบวนงาน Rating Tool เครื่องมือ 19

  20. ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 1 -ดูจุดหมายปลายทาง -ดูกลุ่มเป้าหมาย -ดูเพื่อนร่วมงาน - ดูตัวเอง 6 ข้อ • ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ • เปรียบเทียบแผนกับผล • - การเพิ่มประสิทธิภาพ • - การใช้เงินอย่างคุ้มค่า 2 5 7 ข้อ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล 4 3 • ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ • เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • ต้นทุนแท้จริง 5 ข้อ 7 ข้อ เครื่องมือ PART มี 5 ชุดคำถาม รวม 30 ข้อ คิด วางแผน ผล ผูกกับเงิน ทำ พิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลัก

  21. PART ใช้เมื่อไหร่ วิเคราะห์ผลผลิตเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ ช่วงเดือนตุลาคม - มีนาคม เช่น ทำการวิเคราะห์ปี 51 ผล PART จะใช้ปรับปรุงการบริหารงบประมาณปี 52 เตรียมวางแผนจัดทำงบประมาณปี 53 21

  22. บทบาทของ PART ในกระบวนการงบประมาณของสสจ. /สสพ. การจัดทำ แผนงาน งบประมาณ สารสนเทศในการวางแผน งบประมาณ PART เครื่องมือประเมินผล ประเมินผล สารสนเทศในการอนุมัติ งบประมาณระดับหน่วยงาน การอนุมัติแผนงาน งบประมาณ สารสนเทศในการบริหาร งบประมาณตามผลลัพธ์และผลผลิต การบริหาร แผนวาน งบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

  23. การติดตาม ประเมินผลงบประมาณ ประเมินผลโดย ผลกระทบ Impact PART • KPI 5 มิติ • ปริมาณ,คุณภาพ,เวลา, • สถานที่,กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ Outcome บริหารงบประมาณ (งาน เงิน คน) โดยการติดตาม KPI4 มิติ - เชิงปริมาณ ,คุณภาพ,เวลา,ต้นทุน ผลผลิต Output กิจกรรม Process KPI 2 มิติ - ปริมาณงาน,ระยะเวลา ทรัพยากร Input

  24. เอกสารประกอบคำตอบ เชื่อถือได้ ตรวจสอบที่มาที่ไปได้ มีความถูกต้องชัดเจน จัดทำมาแล้วตามขั้นตอน มีผู้รับผิดชอบ “ไม่ใช่เอกสารจัดทำขึ้นมาใหม่” 24

  25. ข้อตระหนัก แข่งขันกับตัวเอง ทำด้วยตนเอง/แก้ปัญหาด้วยตัวเอง เริ่มจากรับรู้ เรียนรู้ รู้จริง รู้แจ้ง ยอมรับความจริง ยอมรับความจริง สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็ทำให้มี สิ่งใดที่มีปัญหา ก็ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง สิ่งใดที่ทำดีแล้ว ก็พัฒนาให้เป็นมาตรฐาน เราอยู่ในระดับไหนจะพัฒนาหรือไม่ ต้องการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น PART เป็น Self – Assessment คะแนนเป็นเพียงภาพสะท้อน

  26. หลักการ“การถ่ายทอด/นำไปสู่การปฏิบัติ”หลักการ“การถ่ายทอด/นำไปสู่การปฏิบัติ” • ทุกบาท ทุกคน ทุกกิจกรรม ต้องเชื่อมโยงด้วยกันและรับรู้กันหมด (เรียนรู้แผนในทุกระดับ วัตถุประสงค์ของใช้ งปม.) • เป้าหมายและKPI (เรียนรู้ทุกระดับ ทุกผลผลิต ทุกงาน/โครงการ) ให้ชัดเจน • มีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงานที่เน้นคุณภาพ และเตรียมพร้อมที่จะพิสูจน์ความสำเร็จของการดำเนินงาน

  27. ทรัพยากร กิจกรรม ผลผลิต ติดตามผล รายงานผล หลักการ“บริหาร งปม. และติดตามผลการดำเนินงาน” • แบ่งหน้าที่/ความรับผิดชอบ/งานในแต่ละระดับให้ชัดเจน สอบทานย้อนกลับได้ • (ยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้) • มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ร่วมปฏิบัติงาน • ร่วมแสดงความรับผิดชอบ ปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีข้อมูล • สารสนเทศที่เชื่อมโยงเป็นระบบมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการให้ • นำส่งผลผลิต และบรรลุมาตรฐาน # ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

  28. Q&A หัวหน้ากลุ่มติดตามและประเมินผล พร้อมคณะ

More Related