1 / 23

โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

“เกษตรศาสตร์เทิดพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื่อประชาไทยในประชาคมอาเซียนอยู่เย็นเป็นสุข”. จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน วันอังคารที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น.

leo-harris
Download Presentation

โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “เกษตรศาสตร์เทิดพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื่อประชาไทยในประชาคมอาเซียนอยู่เย็นเป็นสุข” จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน วันอังคารที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาลมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

  2. 1. ข้อตกลง AFTA/AEC 1.1 เป็นข้อตกลงที่มีลักษณะครอบคลุม 1) ครอบคลุมหลายเป้าหมายทางเศรษฐกิจ • AEC Blueprintประกอบด้วย 4 เสาหลัก • เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • เป็นภูมิภาคเศรษฐกิจที่แข่งขันสูง • เป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจเท่าเทียมกัน • บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์

  3. 2) ครอบคลุมการเปิดเสรีทุกกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • เคลื่อนย้ายบริการเสรี • เคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี • เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี • เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี

  4. 3) ครอบคลุมการเปิดเสรีทุกภาคการผลิต • ครอบคลุมการเปิดเสรีการค้าสินค้าทุกชนิด • ยกเลิกมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) ทั้งหมด • ยกเลิกข้อจำกัดในการเข้าถึงตลาด • เปิดเสรีการลงทุนในทุกอุตสาหกรรมทุกประเภท

  5. ตารางที่ 1 มาตรการลดอัตราภาษีนำเข้าและมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี หมายเหตุ : * อินโดนีเซียคงอัตราภาษีที่ 40% จนถึงปี 2557 โดยไทยจะได้รับการชดเชยเป็นการนำเข้าน้ำตาลขั้นต่ำปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ** เงื่อนไขนี้ยังต้องรอเจรจา ปัจจุบัน ฟิลิปปินส์เรียกเก็บภาษีนำเข้าข้าวตาม WTO ที่ 40% และกำหนดโควตา 3.5 แสนตัน

  6. ตารางที่ 2 มาตรการอนุญาตให้ต่างชาติ (ในอาเซียน) ถือหุ้นในกิจการภาคบริการ

  7. 1.2 เป็นข้อตกลงที่เน้นการเปิดเสรีนอกภาคเกษตรกรรมมากกว่าภาคเกษตร • ประเทศสมาชิกล้วนปกป้องภาคเกษตร • บัญชีอ่อนไหวและอ่อนไหวสูง เป็นสินค้าเกษตร • กำหนดมาตรฐานเดียวสำหรับสินค้าในกลุ่มอาหาร เกษตร และป่าไม้ อาจกลายเป็น NTBs

  8. 1.3 เป็นข้อตกลงที่เปิดเสรีแบบค่อยเป็นค่อยไป ตารางที่ 3 อัตราอากรนำเข้าเฉลี่ยตาม AFTA/CEPT (%) ที่มา : ASEAN Secretariat

  9. ตารางที่ 4 อัตราอากรนำเข้าเฉลี่ย (ถ่วงน้ำหนักด้วยปริมาณการค้า) และดัชนีการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ที่มา: Global Competitiveness Report, 2010

  10. 2. ผลประโยชน์และผลกระทบของการเปิดเสรีต่อเศรษฐกิจของประเทศ 2.1 ผลประโยชน์และผลกระทบในภาพรวม 1) ผลประโยชน์โดยรวม • เข้าถึงตลาดมีขนาดใหญ่ขึ้น • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้บริโภคได้สินค้าที่มีราคาถูกลง • เป็นฐานการผลิตร่วม • ดึงดูดการลงทุนจากภายนอกภูมิภาค • เพิ่มอำนาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศ 2) ผลกระทบโดยรวม • การแข่งขันรุนแรงขึ้น • การย้ายฐานการผลิตไปสู่ประเทศอื่น • การแย่งทรัพยากรและแรงงานมีฝีมือ • สินค้าบางประเภทมีราคาสูงขึ้น

  11. 2.2 ผลกระทบต่อ GDP ตารางที่ 5 ผลกระทบ AEC ต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของ GDP ของประเทศสมาชิกในปี 2558 ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

  12. ตารางที่ 6 รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดเสรีตามข้อตกลง AEC (บาทต่อปี)

  13. 2.3 ผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจต่างๆ ตารางที่ 7 ผลกระทบของ AEC ต่อผลผลิตของภาคเศรษฐกิจต่างๆ ของ ASEAN ในปี 2558 (% ของการเปลี่ยนแปลงจากแนวโน้มเดิม) ที่มา : Petri et. al (2010)

  14. ตารางที่ 8 การคาดการณ์ผลกระทบของ AEC ต่อภาคเศรษฐกิจของไทย ที่มา : สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ (2548) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2553)และ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

  15. 3. การชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเจรจาตาม AFTA 3.1 มาตรการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • ไม่มีมาตรการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • มีมาตรการอื่นที่ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี 1) การช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของผู้ได้รับผลกระทบ (กองทุน FTA)

  16. ตารางที่ 9 ลักษณะการดำเนินงานของกองทุน FTA ของกระทรวงเกษตรฯและกระทวงพาณิชย์

  17. 2) การบริหารการนำเข้า • จัดทำระบบติดตามการนำเข้า • กำหนดมาตรฐานสินค้าและพิธีการศุลกากรที่เข้มงวด 3) การใช้มาตรการปกป้องฉุกเฉิน • พ.ร.บ.มาตรการปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น 2550 • ตอบโต้การทุ่มตลาด การอุดหนุน และ พ.ร.บ.สินค้าปลอดภัย 4) การสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกร 5) การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน

  18. 3.2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี 1) การกำหนดมาตรการช่วยเหลือค่อนข้างล่าช้า 2) การกำหนดมาตรการช่วยเหลือมีลักษณะตั้งรับ • ผู้ที่ได้รับผลกระทบต้องเป็นผู้ริเริ่มขอการช่วยเหลือ 3) มาตรการช่วยเหลือเป็นมาตรการเฉพาะหน้า • ช่วยเหลือเมื่อเกิดผลกระทบแล้ว 4) มาตรการช่วยเหลือมีลักษณะกระจัดกระจาย

  19. 4. แนวทางพัฒนาเศรษฐกิจภาคเกษตรของประเทศเพื่อแข่งขันในเขตอาเซียน 4.1 ส่งเสริมการทำฟาร์มเกษตรขนาดใหญ่ (farm mechanization) 4.2 ส่งเสริมฟาร์มเกษตรขนาดเล็กให้ผลิตสินค้าที่แตกต่าง 4.3 จัดโซนการผลิตสินค้าเกษตร 4.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น (น้ำ R&D)

  20. 5. แนวทางแก้ปัญหามาตรการชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเจรจาตามข้อตกลง AFTA • กำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาพรวมและแต่ละอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน • จัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยค่าเสียหาย (compensation) แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี • กำหนดมาตรการเชิงรุกเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ • เจรจาการค้าเสรีโดยใช้กลไกตลาด

  21. สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาได้ให้บริการงานวิจัย ฝึกอบรม และคำปรึกษาการดำเนินโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศมากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปีที่ผ่านมา • บริษัท ศูนย์ฝึกอบรมและที่ปรึกษา ไอเอฟดี จำกัด • ให้บริการคำปรึกษา ด้านการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • • จัดโครงการฝึกอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • • ฝึกอบรมสำหรับบุคคลทั่วไป (Public Training) และฝึกอบรมแบบ In-house • • จัดWalk Rally และงานสัมมนา (บริการทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พัก) • • บริการสำรวจความคิดเห็น การทำPoll การวิจัยเชิงสำรวจ • • กิจกรรมพิเศษ (Event) • สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม • 87/110 อาคารโมเดอร์นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 • โทรศัพท์สำนักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495 • โทรสาร : 0 2382 1565 • www.ifdtraining.com • อีเมล์: Info@ifdtraining.com , ifdtraining03@gmail.com

  22. กองทุนเวลาเพื่อสังคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel & Fax : 0-2711-7494 ตู้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 สามารถติดตามข่าวสาร ทาง Social Network ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (Dr.Dan) ได้ที่... http://www.facebook.com/drdancando http://twitter.com/drdancando http://drkriengsak.hi5.com www.drdancando.com www.oknation.net/blog/kriengsak

More Related