1 / 16

เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ

วิเคราะห์สถานการณ์และพยากรณ์โรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย พศ. 2546 – 2555 Situation analysis and forecast cases of leptospirosis in Thailand, 2003-2012. เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. บทนำ. Passion.

leo-larson
Download Presentation

เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิเคราะห์สถานการณ์และพยากรณ์โรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย พศ. 2546 – 2555Situation analysis and forecast cases of leptospirosis in Thailand, 2003-2012 เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย ประวิทย์ ชุมเกษียร และพรรณราย สมิตสุวรรณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. บทนำ Passion - ไปประชุมวิชาการโรคเลปโตสไปโรซิส อยากรู้: ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิต อยากรู้: เข้าหน้าฝนแล้ว รายงานโรคเยอะขึ้น ระบาดหรือยัง

  3. วัตถุประสงค์ 1. 2.

  4. วิธีการศึกษา • รวบรวมข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2546 - 2554 จาก รง. 506 • นิยามโรคเลปโตสไปโรซิสจากแนวทางการรายงานโรคเลปโตสไปโรซิสในระบบเฝ้าระวังโรค • ข้อมูลที่ได้จากศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา  ตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้Microsoft Access • จัดการข้อมูลให้มีความสมบูรณ์สำหรับการวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆ ด้วยEpi Info • วิเคราะห์สัดส่วน ร้อยละของแต่ละตัวแปร โดยใช้ SPSS version 17.0

  5. วิธีการศึกษา • Logistic regression  Odds ratio และ 95% CIs ของปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสโดยใช้ SPSS version 17.0 • Multivariate logistic regression(backward-elimination procedure)  Adjusted odds ratio และ 95% CIs ของปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสควบคุมตัวแปรกวนได้แก่ อายุ เพศ และอาชีพ • พยากรณ์โรคโดยใช้รูปแบบจำลองของ AutoregressiveIntegrated Moving Average กับชุดขอมูลรายเดือนและรายปี โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555 เพื่อพยากรณ์ข้อมูลช่วงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยใช้ SPSS version 17.0

  6. ผลการศึกษา

  7. ผลการศึกษา

  8. รูปที่ 1 แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสตามวันเริ่มป่วยจำแนกตามรายเดือน และเหตุการณ์อุทกภัยครั้งสำคัญในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2546-2555

  9. ตารางที่ 1 แสดงลักษณะทางระบาดวิทยาระหว่างผู้เสียชีวิตและผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่รอดชีวิต พ.ศ. 2546-2554

  10. ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงแบบ Multivariate regression analysis เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสระหว่างปี พ.ศ. 2546-2554 กับผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิสที่รอดชีวิตในช่วงเวลาเดียวกัน 45 % of all deaths were estimated to be attributable to delay of treatment (three days after onset) among thoseleptospirosis cases

  11. พยากรณ์โดยใช้ ARIMA model เพื่อดูแนวโน้มของการเกิดโรคในปี พ.ศ. 2555 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม- All the models tested, the ARIMA (2, 0, 12); the best fit- The mean absolute percentage error (MAPE) value was 21.593%- R-squared = 0.780 - Ljung-Box statistic= 12.894 (P-value) = 0.535- กรกฎาคม พ.ศ. 2555 น่าจะมีผู้ป่วย521 ราย (95% CIs; 304, 838 ราย)- สิงหาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 533 ราย (246 ราย ถึง 1,016 ราย) - กันยายน พ.ศ. 2555 จำนวน 474 ราย (197 ราย ถึง 970 ราย)- ตุลาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 470 ราย (190 ราย ถึง 978 ราย)- พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 จำนวน 361 ราย (146 ราย ถึง 752 ราย)- ธันวาคม พ.ศ. 2555 จำนวน 263 ราย (105 ราย ถึง 550 ราย) คาดการณ์ว่า

  12. รูปที่ 4 การพยากรณ์การรายงานโรคเลปโตสไปโรซิสระหว่างปี พ.ศ. 2546-2555 ด้วยรูปแบบจำลอง AutoregressiveIntegrated Moving Average (ARIMA) An abnormal event ? จำนวนผู้ป่วยเกิน Upper 95% CI

  13. วิจารณ์และสรุปผล

  14. วิจารณ์และสรุปผล

  15. วิจารณ์และสรุปผล

More Related