1 / 70

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality. ควรให้การรักษาพยาบาลแก่คนพม่าที่เจ็บป่วยบริเวณชายแดน แล้วเข้ามาในโรงพยาบาลของไทยหรือไม่ ถ้าควร ด้วยเหตุผลอะไร ถ้าไม่ควร ด้วยเหตุผลอะไร. ถ้าจำนวนขนาดนี้ล่ะ ?. โรฮิงญา คือ ใคร ?.

leo-wilson
Download Presentation

ความเป็นพลเมือง สัญชาติ Citizenship, Nationality

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นพลเมือง สัญชาติCitizenship, Nationality

  2. ควรให้การรักษาพยาบาลแก่คนพม่าที่เจ็บป่วยบริเวณชายแดน แล้วเข้ามาในโรงพยาบาลของไทยหรือไม่ • ถ้าควร ด้วยเหตุผลอะไร • ถ้าไม่ควร ด้วยเหตุผลอะไร

  3. ถ้าจำนวนขนาดนี้ล่ะ?

  4. โรฮิงญา คือ ใคร? • โรฮิงญา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนาอิสลามในประเทศพม่า อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ (อาระกัน) ทางตะวันตกของประเทศ • เดิมชาวโรฮิงญาอาศัยอยู่ในบังคลาเทศ แต่ถูกอังกฤษกวาดต้อนมาเพื่อใช้แรงงานและการสงคราม • บางส่วนเป็นชาวอาหรับที่เดินทางมาค้าขายในรัฐอาระกันเดิม

  5. โรฮิงญาเข้ามาทำไม? • ต่อมามีความปั่นป่วนรุนแรงมากขึ้นในรัฐยะไข่ และปานปลายจนรัฐไม่สามารถควบคุมได้ (ในความรู้สึกของชาวโรฮิงญา) • ร่วมๆ กับความยากจนข้นแค้นในรัฐยะไข่ (เช่นเดียวกับ คนไทใหญ่ ฯลฯ) • โรฮิงญาเหล่านี้จึงพยายามทำให้ชีวิตตนเองดีขึ้นด้วยการอพยพ • และกลายเป็นเหยื่อของขบวนการค้ามนุษย์ในที่สุด

  6. รัฐยะไข่ (อาระกัน)

  7. ควรจะปฏิบัติต่อชาวโรฮิงยาอย่างไรควรจะปฏิบัติต่อชาวโรฮิงยาอย่างไร • ควรรับเขาไว้และให้การเลี้ยงดู เปิดโอกาสให้ทำงานเสมือนพลเมืองไทย • หรือควรผลักดันเขาออกไปจากผืนแผ่นดินไทย เพราะไม่ได้เป็นพลเมืองไทย

  8. เพราะเหตุใดเราจึงรู้สึกว่าควรปฏิบัติต่อบุคคลเหล่านี้แตกต่างไปจาก “คนไทย” ด้วยกันเอง

  9. มิติในทางสังคม การถือสัญชาติเดียวกันทำให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน คนกลุ่มเดียวกัน • เช่น นักกีฬาทีมชาติ แม้อาจมีความแตกต่างอย่างมาก แต่ก็รู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน

  10. Zinadine Zidane • ชาวฝรั่งเศส เกิดในครอบครัวชาวแอลจีเรียอพยพ

  11. มิติในทางกฎหมาย การเป็นคนสัญชาติเดียวกันจะได้รับการคุ้มครองจากรัฐ และมีหน้าที่ในลักษณะเดียวกัน • เช่น การเข้าถึงบริการสาธารณสุข การศึกษา การเสียภาษี การได้รับความคุ้มกันจากกระบวนการยุติธรรม การมีสิทธิเลือกตั้ง ฯลฯ

  12. สิทธิทางการเมืองกับสัญชาติสิทธิทางการเมืองกับสัญชาติ

  13. First Amendment • Congress shall make no law respecting an establishment of religion, or prohibiting the free exercise thereof; or abridging the freedom of speech, or of the press; or the right of the people peaceably to assemble,and to petition the Government for a redress of grievances.

  14. สิทธิทางการเมือง-สิทธิพลเมือง-สัญชาติสิทธิทางการเมือง-สิทธิพลเมือง-สัญชาติ •  English musician John Lennon's transformation to a rallying anti-war activist striving for world peace during the late 1960s and early 1970s. • The United States government under President Richard Nixon to silence him. • and the FBI put Lennon under surveillance. The Immigration and Naturalization Service tried to deport him

  15. การเป็นพลเมืองของรัฐสมัยใหม่การเป็นพลเมืองของรัฐสมัยใหม่ • สัญชาติ (Nationality) และเชื้อชาติ (Race) • เชื้อชาติ คือ ลักษณะทางพันธุกรรมหรือทางวัฒนธรรมของผู้คน • สัญชาติ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับรัฐสมัยใหม่

  16. ความเข้าใจที่คับแคบบางประการความเข้าใจที่คับแคบบางประการ • ในแต่ละรัฐ จะมีพลเมืองที่มีลักษณะใกล้เคียงหรือคล้ายคลึงกันทั่วทั้งรัฐ หรือมีความพยายามจะทำให้คนภายในรัฐมีลักษณะที่เหมือนกัน • แต่ในความเป็นจริงแต่ละรัฐ มีพลเมืองที่มีเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ที่แตกต่างกันอย่างมาก

  17. หลักกฎหมายทั่วไปว่าด้วยการได้สัญชาติหลักกฎหมายทั่วไปว่าด้วยการได้สัญชาติ • การได้สัญชาติโดยการเกิด • การได้สัญชาติภายหลังการเกิด

  18. การได้สัญชาติโดยการเกิดมีการได้สัญชาติโดยการเกิดมี • การได้สัญชาติโดยหลักดินแดน <jus soli> • การได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิต <jus sanquinis>

  19. การได้สัญชาติโดยหลักดินแดนการได้สัญชาติโดยหลักดินแดน • บุคคลที่กำเนิดขึ้นในดินแดนของรัฐใด ก็ควรมีสิทธิได้สัญชาติของรัฐนั้น • ถือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับดินแดน

  20. แต่อาจมีข้อยกเว้นบางประการแต่อาจมีข้อยกเว้นบางประการ • การเข้าเมืองในลักษณะชั่วคราวหรือเข้าเมืองแบบผิดกฎหมาย • ทำงานในองค์กรระหว่างประเทศ • เรียนหนังสือ ท่องเที่ยว • หลบหนีเข้าเมือง

  21. การได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิตการได้สัญชาติโดยหลักสืบสายโลหิต • บุคคลที่ถือกำเนิดขึ้นจากพ่อแม่ที่มีสัญชาติใดก็ควรจะต้องได้สัญชาตินั้น • เป็นการถ่ายทอดสัญชาติผ่านทางสายเลือด

  22. การได้สัญชาติภายหลังการเกิดการได้สัญชาติภายหลังการเกิด • การได้สัญชาติโดยการสมรส ถือหลักความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของครอบครัว • การได้สัญชาติโดยการแปลงสัญชาติ ถือหลักความผสมกลมกลืนของบุคคลกับสังคมนั้นๆ • การได้สัญชาติเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจรัฐ เป็นความจำเป็นของรัฐที่เปลี่ยนแปลงไป

  23. หลักกฎหมายว่าด้วยการเสียสัญชาติหลักกฎหมายว่าด้วยการเสียสัญชาติ • การเสียสัญชาติด้วยการแสดงเจตนาของเอกชน • เช่น การสละสัญชาติ • การเสียสัญชาติด้วยการแสดงเจตนาของรัฐ • เช่น การถูกถอนสัญชาติ

  24. กฎหมายสัญชาติในสังคมไทย กฎหมายสัญชาติในสังคมไทย

  25. ชาติไทย – คนไทย • “คนไทย” คืออะไร? • ชื่อชนชาติไทยมาจาก คำว่า “สยาม” • “สยาม” คืออะไร? เมืองยิ้ม? • สยามเป็นชื่อชนชาติ ตรงกับคำว่า “เสียม” ในภาษาขอม • ตรงกับคำว่า “ชาน” (ฉาน) • ตรงกับคำว่า “เสียน” ในภาษาจีน ฯลฯ • สยาม/ศยาม เป็นชื่อของชนชาติ “เสียม” ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วทุกภาคใน/นอกประเทศไทย

  26. “ชาน” = รัฐฉาน (Shan State)

  27. เสียมกุก (ชาวเสียมที่แม่น้ำกก)

  28. “คนไทย” • “คนชาติไทนก็คือเกิดเปนไทย เกิดในหมู่ชนที่เรียกนามตัวเองว่าไทย” • น่าจะเกิดขึ้นช่วงรัชกาลที่ 4-5 แต่เกิดขึ้นเฉพาะในหมู่ชนชั้นนำ • เพราะขาดกลไกอย่างการศึกษาและการพิมพ์ • เหตุที่น่าจะเป็นช่วงรัชกาลที่ 4 เพราะช่วงนั้นเกิดสนธิสัญญาเบาวริ่ง • ทำให้จำเป็นต้องคิดวิธีการจัดการปัญหาต่างๆ ใหม่ ตาม “คนชาติ” อื่นๆ • เช่น คนในบังคับอังกฤษ คนในบังคับฝรั่งเศส ฯลฯ • คนจีน คนแขก คนญี่ปุ่น ที่อยู่ในบังคับ ฯลฯ

  29. Sir John Bowring

  30. สัญญาเบาริ่ง • สัญญาที่สยามทำกับอังกฤษ • สาระสำคัญเป็นเรื่องวิธีการค้าขายเป็นการค้าเสรี • คนในบังคับอังกฤษจะอยู่ภายใต้อำนาจควบคุมของกงสุลอังกฤษ • คนในบังคับอังกฤษได้รับสิทธิในการค้าขายอย่างเสรีในเมืองท่า • สามารถพำนักอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นการถาวรได้ ภายในอาณาเขตสี่ไมล์ แต่ไม่เกินกำลังเรือแจวเดินทางในยี่สิบสี่ชั่วโมง • คนในบังคับอังกฤษสามารถซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์

  31. ผลหลังสนธิสัญญาเบาริ่งผลหลังสนธิสัญญาเบาริ่ง • “เมื่อทำหนังสือสัญญาแล้ว มีฝรั่งเข้ามาค้าขายมากขึ้นโดยลำดับ และมีกงสุลเข้ามาตั้งคอยหนุ่นฝรั่งพวกของตน...และความลำบากซึ่งมิได้เคยมีมาแต่ก่อนเกิดขึ้นต่างๆ” • “จะว่าราชการบ้านเมืองในสมัยนั้นก็ลำบากด้วยฝรั่งเข้ามามีอำนาจกว่าแต่ก่อน” • การตั้งชุมชนของคนอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษ พวกเขาได้รับสิทธิพิเศษทั้งทางกฎหมาย การค้า และการถือครองที่ดิน การได้รับประโยชน์ของคนเหล่านี้ทำให้เกิดการตั้งถิ่นฐานในกรุงเทพฯต่อมา

  32. การเปลี่ยนแปลงในเชิงกายภาพ อันเกี่ยวเนื่องจากการตั้งถิ่นฐานและการสร้างชุมชน โดยเฉพาะบริเวณตอนใต้ของกรุงเทพฯ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เกิดจากการสร้างถนนและตึกแถวจำนวนมาก • ชาวอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษมีส่วนร่วมในการกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจภาครัฐและเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ • การตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษและคนในบังคับ ได้ก่อให้เกิดการบริหารจัดการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปในกรุงเทพฯ • มาลินี คุ้มสุภา, “การเปลี่ยนแปลงกรุงเทพฯ พ.ศ.2398-2452: ผลกระทบจากการตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษและคนในบังคับ” วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (ไทยศึกษา), 2554.

  33. พลังของสัญญาเบาริ่ง • สัญญาเบาริ่ง ในมิติปัจจุบัน คือ “สนธิสัญญาระหว่างประเทศ” • อันเป็นที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ • ตามมาตรา 38 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ “ศาลซึ่งมีหน้าที่พิจารณาพิพากษากรณีพิพาทที่มาสู่ศาลตามกฎหมายระหว่างประเทศจะต้องใช้” • สนธิสัญญา, จารีตประเพณีระหว่างประเทศ, หลักกฎหมายทั่วไป • เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นพลังของกฎหมายระหว่างประเทศที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย

  34. รวมถึงการก่อให้เกิดสำนึกความเป็น “คนไทย” และ “คนชาติ” อื่นๆ ในหมู่ชนชั้นนำไทย

  35. พระราชสาสน์ ร.4 ถึงนโปเลียนที่ 3 พ.ศ. 2408 • “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎพระเจ้ากรุงรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยาเป็นมหาราชธานีใหญ่ในพระราชอาณาจักรฝ่ายสยาม คือแผ่นดินสยามเหนือใต้และดินแดนต่างๆ อยู่เคียงอยู่ใกล้ เป็นที่อยู่อาศัยของชนชาวประเทศมีเพศภาษาต่างๆ คือ ลาวกาว ลาวเฉียง กัมพูชา มลายูและกะเหรี่ยง”

  36. ก่อนหน้ารัชกาลที่ 5 • ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ 2416 ของหมอบรัดเลย์ ชาติ หมายถึงบังเกิด กำเนิดขึ้น หรือเป็นการเปรียบเปรยถึงบุคคลบางประเภท เช่น ชาติข้า ชาติหงส์ ชาติหมา • ตราบจนกระทั่งแนวคิดเรื่องรัฐสมัยใหม่แผ่อิทธิพลเข้ามา โดยประชาชนใต้อำนาจปกครองต้องมีลักษณะบางอย่างร่วมกันซึ่งก็คือ สัญชาติ

  37. การปฏิรูปการปกครองในสมัย ร.5 • จัดตั้งมณฑลลาวเฉียง (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน เถิน) > มณฑลพายัพ • จัดตั้งมณฑลลาวพวน (อุดร ขอนแก่น นครพนม สกลนคร เลย หนองคาย > มณฑลอุดร • จัดตั้งมณฑลลาวกาว เขมร หัวเมืองแขกมลายู > มลฑลไทรบุรี

  38. เจ้าแก้วนวรัฐ • เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย • 2453 – 2482

  39. จนกระทั่งแนวคิดเรื่องรัฐสมัยใหม่แผ่อิทธิพลเข้ามา ตั้งแต่ ร. 5 โดยประชาชนใต้อำนาจปกครองต้องมีลักษณะบางอย่างร่วมกันซึ่งก็คือ สัญชาติ จึงทำให้เกิดกฎหมายว่าด้วยสัญชาติขึ้น แต่ในรัชกาลถัดมา • พระราชบัญญัติแปลงชาติ พ.ศ. 2454 • พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2456

  40. กฎหมายสัญชาติปัจจุบัน พ.ร.บ. สัญชาติ 2508 • การได้สัญชาติโดยการเกิด • หลักสืบสายโลหิต บุคคลย่อมได้สัญชาติไทยหากบิดาหรือมารดามีสัญชาติไทย แม้เกิดนอกราชอาณาจักรไทย

  41. หลักดินแดน ผู้ใดถือกำเนิดในราชอาณาจักรไทยจะได้รับสัญชาติ ยกเว้นบิดามารดาเป็นคนต่างด้าว และบิดาหรือมารดาเข้าเมืองแบบไม่ถาวร • ได้รับผ่อนผันเป็นกรณีเฉพาะราย • เข้าเมืองแบบชั่วคราว • เข้าเมืองโดยไม่ได้รับอนุญาต

More Related