1 / 86

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บเทคโนโลยี

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บเทคโนโลยี. Outline. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต HTML วิธีสร้างเว็บไซต์ ขนาดหน้าของเว็บเพจ พื้นที่ของเว็บเพจ ส่วนประกอบของเว็บ ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ ประเภทของเว็บไซต์. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต.

lewis-dixon
Download Presentation

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บเทคโนโลยีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บเทคโนโลยี

  2. Outline • ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • HTML • วิธีสร้างเว็บไซต์ • ขนาดหน้าของเว็บเพจ • พื้นที่ของเว็บเพจ • ส่วนประกอบของเว็บ • ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • ประเภทของเว็บไซต์

  3. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • เว็บเทคโนโลยี (Web Technology) • คือ บริการหนึ่งในรูปแบบต่างๆของการให้บริการของอินเตอร์เน็ต สำหรับผู้พัฒนาเว็บ หรือผู้ที่ต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อสื่อสารผ่านเว็บ หรือ อินเตอร์เน็ต แล้วจะต้องรู้และเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับโปรโตคอล (Protocol)

  4. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • โปรโตคอล คือ ข้อตกลงระหว่าง 2 ฝ่ายที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง และราบรื่นมากที่สุด • การใช้บริการเว็บจะทำงานภายใต้ โปรโตคอล HTTP • โดยโปรโตคอลจะเป็นตัวกำหนดวิธีการส่งข้อมูลหรือไฟล์ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Client และ Server รวมถึงการกำหนด กฎระเบียบในการติดต่อ โปรแกรมประเภท Browser เป็นตัวช่วยในการติดต่อสื่อสารได้ง่ายขึ้น

  5. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • อินเทอร์เน็ต หมายถึง ลักษณะของการเชื่อมต่อของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งเล็กและใหญ่จำนวนมากเข้าด้วยกัน โดยมีข้อกำหนดว่าทุกเครือข่ายที่เชื่อมต่อถึงกัน จะต้องอยู่ภายใต้มาตรฐานของการเชื่อมต่อ(โปรโตคอล) ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานบนเครือข่ายแบบนี้โดยเฉพาะ ซึ่งเรียกว่า TCP/IP

  6. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต

  7. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • จากมาตรฐานการเชื่อมต่อกันนี้เอง จึงมีผลทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และไม่มีขีดจำกัดทางด้านเวลาและสถานที่

  8. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • โปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) • เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการกระจายและทำงานร่วมกันของข้อมูลที่ในอยู่ในรูปสื่อที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ เนื่องจากโปรโตคอล HTTP สามารถที่จะใช้ในการรับส่งข้อมูลที่เป็นข้อความ รูป ภาพ หรือภาพเคลื่อนไหวได้ จึงทำให้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ใน WWW อนุญาตให้เข้าถึงได้โดยผ่านโปรโตคอล HTTP

  9. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • WWW (World Wide Web) อาจเรียกสั้นๆ ว่าเว็บเปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ที่รวบรวมข้อมูลที่มากที่สุดในโลกก็ว่าได้ สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เกือบทุกอย่างจากบริการเว็บ

  10. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • ข้อมูลในเว็บจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า Hypertext และทำการเชื่อมโยง (Links)ข้อความหรือ รูปภาพ เข้ากับเอกสารอื่นๆ อย่างเป็นอิสระต่อกัน

  11. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • ภาพหรือข้อความที่แสดงบนหน้าจอจะแสดงได้ทีละหน้า ซึ่งเรียกว่า เพจ (Page)หรืออาจมีการเชื่อมโยงด้วยการลิงค์ (Links)เพื่อค้นหาข้อมูลจากอีกเพจหนึ่งที่อยู่ห่างออกไปไกลๆได้

  12. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • เว็บไซต์ เว็บเปรียบเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ เว็บไซต์จะเปรียบเสมือนหนังสือหนึ่งเล่มในห้องสมุดนั้น สามารถเลือกหยิบหนังสือเล่มใดก็ได้ในห้องสมุดเว็บขึ้นมาอ่าน • โดยระบุชื่อหนังสือในลักษณะที่เรียกว่า URL(อ่านว่า ยู อาร์ แอล) • เช่น เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายมี URL หรือมีชื่อเป็นwww.cru.in.thเป็นต้น

  13. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • เว็บเพจ (Web Page) และโฮมเพจ (Home Page) • ถ้าเว็บไซต์ คือ หนังสือหนึ่งเล่ม เว็บเพจก็คือ หน้ากระดาษต่างๆ ที่บรรจุเนื้อหาในหนังสือเล่มนั้นส่วน • โฮมเพจ คือ ปกหน้าของหนังสือ ปกติแล้วเมื่อเริ่มเปิดโปรแกรม Web Browser โปรแกรมจะนำเข้าสู่หน้าแรกของเว็บใดเว็บหนึ่งให้โดยอัตโนมัติ • หน้าแรกนั้นจะถือว่าเป็นโฮมเพจด้วยเช่นเดียวกัน สามารถเปลี่ยนโฮมเพจของโปรแกรม Web Browser ที่ใช้อยู่นี้ให้ไปยังเว็บไซต์ใดก่อนก็ได้

  14. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • เว็บเพจ (Web Page) และโฮมเพจ (Home Page)

  15. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)การแสดงผลข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตในรูปของ HTML ไม่สามารถที่จะแสดงผลข้อมูลออกมาโดยตรงได้ จะต้องใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์เป็นตัวกลางที่จะทำหน้าที่แปลงคำสั่งก่อนแล้วแสดงผลคำสั่งให้ออกมาเป็นรูปภาพ เสียง และข้อมูลต่างๆ • บราวเซอร์ที่ผู้ใช้นิยมใช้กันก็จะมีโปรแกรม Internet Explorer และ Netscape Navigator

  16. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)

  17. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • DNS-Domain Name Systemคือ ระบบการตั้งชื่อบนอินเทอร์เน็ต ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต • โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่นั้นต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ซึ่งหมายเลขนี้เรียกว่า IP โดยการที่จะจดจำหมายเลขประจำเครื่องนั้นทำได้ยาก จึงมีวิธีการตั้งชื่อให้จดจำและใช้งานง่าย ระบบชื่อจึงถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐาน • โดยแบ่งตามลำดับขั้นตามสภาพภูมิศาสตร์ เป็นประเทศ ประเภทขององค์กร และชื่อองค์กร • เช่น www.cru.in.th thคือ ชื่อประเทศไทย inคือ ประเภทองค์กร cruคือ ชื่อองค์กร

  18. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • Domain ที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น • .com = กลุ่มธุรกิจการค้า (Commercial) • .edu = กลุ่มการศึกษา (Education) • .gov = กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Government)

  19. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • ความหมายของ Sub Domain เช่น • .co = องค์การธุรกิจ (Commercial) • .ac = สถาบันการศึกษา (Academic) • .go = หน่วยงานรัฐบาล (Government) • .or = องค์กรอื่น ๆ (Organizations)

  20. ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต • Domain Name ชื่อย่อของประเทศ เช่น • .th = Thailand • .hk = Hong Kong • .jp = Japan • .sg = Singapore

  21. HTML • HTMLย่อมาจาก Hyper Text Markup Languageเป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนาเว็บเพจเพื่อให้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)ต่างๆ สามารถแปลงคำสั่งและแสดงผลเป็นรูปภาพ เสียง หรือข้อมูลได้ • มีโปรแกรมเว็บบราวเซอร์มากกว่า 10 โปรแกรมที่สามารถอ่านหรือเข้าใจในภาษา HTML ซึ่งเป็นข้อความ Text กับรหัสที่อยู่ในเครื่องหมาย < > และมีนามสกุลเป็น .html โดยเมื่อเราเปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เราจะไม่สามารถพบรหัสเหล่านี้ได้เลยบนจอภาพ แต่รหัสเหล่านี้จะเป็นคำสั่งที่บอกโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ของเราว่า รูปแบบของข้อความเป็นอย่างไร รวมไปถึงการสร้างจุดเชื่อมโยงหรือลิงค์ (Link) ที่เชื่อมโยงต่อไปยังเว็บเพจอื่นๆ

  22. HTML • สำหรับการสร้างไฟล์ HTML จะต้องอาศัยโปรแกรมที่มีคุณสมบัติเป็น Text Editor โดยเราจะใช้โปรแกรมเหล่านี้สำหรับเขียนคำสั่งต่างๆ หรือรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการให้แสดงผลบนจอภาพ และเก็บเป็นไฟล์โดยจะต้องมีนามสกุลเป็น .html จากนั้นก็ทดสอบไฟล์ในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ต่อไป แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ผู้ใช้งานไม่ต้องเขียนคำสั่งเองก็สามารถที่จะสร้างเว็บเพจอย่างง่ายๆ ได้เลย • เช่น Microsoft Frontpage Netscape Composer Macromedia Dreamweaver Adobe Golive

  23. HTML • เอกสาร HTML เป็นเอกสารที่ประกอบไปด้วยข้อมูลที่เราต้องการเผยแพร่ผ่าน WWW และ ภาษา HTML ที่ใช้กำหนดการแสดงผลของข้อมูลดังกล่าว • ภาษา HTML เป็นภาษาที่อยูในรูปของ แท๊ก (Tag) ที่ใช้ห่อหุ้มข้อมูลที่เราต้องการเผยแพร่ผ่าน WWW ซึ่งการแสดงผลของเอกสาร HTML เราสามารถที่จะดูได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า เว็บ บราวเซอร์ (Web Browser)

  24. HTML • โครงสร้างของภาษา HTML จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน ดังนี้ • ส่วนที่ใช้บอกจดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของเอกสาร คือ แท๊ก <html></html> • ส่วนหัวของเอกสาร HTML คือ แท๊ก <head></head> ซึ่งเราจะแสดงหัวเรื่องของ เอกสาร HTML ไว้ในส่วนนี้ • ส่วนที่ใช้บอกจดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของเนื้อหา คือ แท๊ก <body></body>

  25. HTML

  26. วิธีสร้างเว็บไซต์ • สร้างเว็บไซต์ด้วย Web Hosting • สร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมกราฟฟิก • สร้างเว็บไซต์ด้วยภาษา HTML และ JavaScript

  27. ขนาดหน้าของเว็บเพจ • ขนาดหน้าของเว็บเพจที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ขนาด คือ • ขนาด 800X600 pixelsจะสามารถแสดงหน้าเว็บได้ครบถ้วนกับหน้าจอที่มีขนาด 15 นิ้วขึ้นไป • ขนาด 1024X768 pixels เป็นขนาดของหน้าเว็บเพจที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน เพราะสามารถแสดงข้อมูลของเว็บได้มากขึ้นและง่ายต่อการออกแบบด้วย

  28. พื้นที่ของเว็บเพจ • การจัดสรรพื้นที่ของเว็บเพจสามารถทำได้หลายรูปแบบ แต่ที่นิยมใช้กันจริงๆจะมีอยู่ 3 แบบ คือ • การแบ่งแบบอิสระ • การแบ่ง 2 ส่วน • การแบ่ง 3 ส่วน

  29. ส่วนประกอบของเว็บ

  30. ส่วนประกอบของเว็บ • โลโก้ (Logo)

  31. ส่วนประกอบของเว็บ • ส่วนหัวของเว็บเพจ (Page Header)

  32. ส่วนประกอบของเว็บ • เมนูหลัก (Link Menu)

  33. ส่วนประกอบของเว็บ • ส่วนที่ใช้แสดงเนื้อหาของเว็บ (Page Body)

  34. ส่วนประกอบของเว็บ • ส่วนล่างสุดของเว็บไซต์ (Page Footer)

  35. ส่วนประกอบของเว็บ • ช่องทางการโฆษณาของเว็บไซต์ (Banner)

  36. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์

  37. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • เตรียมเนื้อหาที่จะนำเสนอ • ก่อนอื่นต้องมีเป้าหมายก่อนว่าจะทำเว็บไซต์เกี่ยวกับเรื่องอะไรและเนื้อหาต่างๆ มีอะไรบ้าง แล้วจัดเตรียมสิ่งต่างๆ ซึ่งหมายถึง ข้อความ, ภาพประกอบ, เสียง และอื่น ๆ

  38. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์ • ว่าต้องการให้มีลักษณะเป็นอย่างไร เช่น จะมีการแบ่งเฟรมหรือไม่ สี ของ Background และตัวอักษรเป็นสีอะไร จะจัดวางอะไรไว้ตรงส่วนไหน จะมี Link ที่ใดบ้างและแต่ละ Link เชื่อมโยงไปหาส่วนใด เป็นต้น

  39. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

  40. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

  41. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

  42. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • เขียนและทดสอบ • ลงมือเขียนโดยใช้โปรแกรมสำหรับเขียนเว็บไซต์ แล้วทำการทดสอบการแสดงผลและ Link ต่างๆ ว่าเชื่อมโยงได้ถูกต้องหรือไม่ ในขั้นตอนนี้ถ้ามีปริมาณข้อมูลมากและมีการเชื่อมโยงที่ซับซ้อนก็จะใช้เวลาค่อนข้างมากเพราะต้องคอยปรับแก้อยู่เรื่อย ๆ

  43. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ลงทะเบียนชื่อเว็บไซต์และจัดหาพื้นที่เก็บข้อมูล • นำเว็บไซต์ที่สร้างขึ้น Upload ขึ้น Server และตรวจสอบความเรียบร้อย • คือ การคัดลอกข้อมูล จากเครื่องของเราไปเก็บไว้ในเครื่อง Server ซึ่งการคัดลอกนี้เรียกว่า Upload โดยใช้โปรแกรมสำหรับการUpload • เช่น โปรแกรม WinSCP, CuteFtp, WS_FTP (โปรแกรม Dreamweaver มีความสามารถนี้อยู่แล้ว)

  44. ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ • ประกาศให้โลกรับรู้ • เมื่อตรวจสอบความเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงคราวที่จะชักชวนให้ผู้คนมาชมเว็บไซต์ โดยประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น แลก Link กับเว็บไซต์อื่นๆ ฝากข้อความชักชวนไว้ตามกระดานข่าวต่างๆ หรือจะเพิ่มชื่อเว็บไซต์ให้กับแหล่งรวมข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตอย่าง yahoo หรือ google

  45. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์

  46. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • การเลือกเนื้อหาเว็บไซต์ • ถือเป็นส่วนสำคัญในการเริ่มต้นทำเว็บไซต์ ทั้งการจัดโครงสร้าง และ ความนิยมของเว็บไซต์ สำหรับผู้เริ่มต้น ซึ่งไม่แน่ใจว่าจะเลือกหัวข้อใด • ควรเริ่มต้นจาก การสำรวจตัวเองว่า ชอบ หรือ สนใจสิ่งใด มากที่สุด หรือ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านใดมากที่สุด

  47. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • โครงสร้างของเว็บไซต์ • มีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ การที่จะทำให้ ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหาข้อมูล ในเว็บไซต์ได้อย่างเป็นระบบ ประการแรกต้องพิจารณาถึง ความเป็นไปได้ของประเภทของผู้เข้าเยี่ยมชมเพราะผู้เยี่ยมชมแต่ละประเภท ก็จะค้นหาข้อมูลที่แตกต่างกัน • ดังนั้นสิ่งที่ควรจะทำก็คือการจัดกลุ่มของข้อมูลโดยให้รวมหัวข้อย่อยต่างๆ ให้อยู่ในหัวข้อหลัก โดยมีจุดมุ่งหมายให้ จำนวนข้อหลักน้อย ที่สุด นอกจากนี้การจัดไฟล์และไดเร็กทอรี่ ก็จะช่วยให้การดูแลรักษาและการตรวจสอบความผิดพลาดของเว็บไซต์ง่ายยิ่งขึ้น

  48. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • โครงสร้างของเว็บไซต์ • เช่น การจัดไฟล์รูปภาพไว้ที่เดียวกัน หรือ จัดเว็บไซต์ที่เป็นเรื่องเดียวกันไว้ในไดเร็กทอรี่เดียวกัน เป็นต้น

  49. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • โครงสร้างของเว็บไซต์

  50. ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ • สามารถดูเว็บไซต์ได้ในหลายบราวเซอร์ • การทำเว็บไซต์ควรจะทำเพื่อให้สามารถดูได้จากทุกๆ Version ของ Software ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Netscape, Communicator, Internet Explorer หรือ อื่นๆ การทำให้ทุกคนดูได้นี้ ถือว่าเป็นการขยายฐานของผู้เข้าเยี่ยมชม

More Related