1 / 10

สรุปการฝึกอบรม

สรุปการฝึกอบรม. วันแรก แรงบันดาลใจ ความคาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์แรงงานจากวิกฤติเศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง ประวัติศาสตร์แรงงานไทย วันที่สอง ฝึกปฎิบัติรับเรื่องราวร้องทุกข์ ทักษะเพิ่มเติมและศูนย์ที่อยากเห็น. ความคาดหวัง.

lewis-olsen
Download Presentation

สรุปการฝึกอบรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปการฝึกอบรม วันแรก • แรงบันดาลใจ ความคาดหวัง • วิเคราะห์สถานการณ์แรงงานจากวิกฤติเศรษฐกิจ • กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง • ประวัติศาสตร์แรงงานไทย วันที่สอง • ฝึกปฎิบัติรับเรื่องราวร้องทุกข์ • ทักษะเพิ่มเติมและศูนย์ที่อยากเห็น

  2. ความคาดหวัง • นำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้ไปต่อยอด พัฒนา ไปปฎิบัติการจริง ทั้งในการทำงานช่วยเหลือแรงงาน และครอบครัว • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ /ได้เรียนรู้ ความรู้ใหม่/เข้าใจปัญหาแรงงานทั้งในและนอกระบบ • ทำให้องค์กรเข้มแข็ง/ศูนย์เติบโต/ทำงานเป็นระบบ/ทีม • ได้เพื่อนใหม่และเครือข่าย • รับรู้เรื่องศูนย์ฯ • กม.คุ้มครองแรงงานนอกระบบ

  3. ภาพรวม • การพัฒนากระแสโลกาภิวัตน์ ทุนนิยมเสรี การแข่งขัน ใช้ ตัวเงินเป็นตัวชี้วัดการเติบโคของประเทศ GDP ขาดมิติมุมมองด้านธรรมาภิบาล สังตมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม • ตัวละครที่สำคัญ คือ ทุน เคลื่อนย้ายโดยเสรี เพื่อหาแหล่งที่ตนทำกำไรให้มากที่สุด ลดต้นทุนการผลิต -แรงงานคุณภาพ ราคาต่ำ -นโยบายที่เอื้อประโยชน์ให้ทุน ได้สิทธิพิเศษต่างๆ ไม่จ่ายภาษี ลงทุนในเขตการค้าเสรีที่ปลอดสหภาพแรงงาน -มีสาธารณูปโภค ระบบการขนส่ง ถนนหนทางที่เอื้ออำนวย • บรรษัทข้ามชาติเข้ามีอำนาจในการกำหนดทิศทางการพัฒนาโลก นโยบายการค้าเสรี เปิดให้มีการแข่งขันกันสูง ลดกำแพงภาษี • ทุนเข้ามาในประเทศ ....มีอำนาจในการกำหนดนโยบายรัฐให้เอื้อต่อทุน

  4. ทุน+รัฐ นโยบายรัฐในการพัฒนาประเทศ • การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมการผลิต การเกษตร • แปรรูปรัฐวิสาหกิจ • รัฐใช้ GDP เป็นตัวชี้วัดการเจริญเติบโตของประเทศ • ออกกฎหมายที่เอื้อต่อทุน เช่น ม. 75 • รัฐมีนโยบายที่ควบคุมสหภาพแรงงงาน ให้อยู่ในโอวาท โดยใช้กฎหมายควบคุม • กระบวนการยุติธรรมที่ไม่เอื้อ ใช้เวลานาน ไม่มีกลไกช่วยเหลือ • -ระบบการศึกษามุ่งผลิตคนเพื่อรับใช้ทุน

  5. ปัญหาสำคัญที่คนงานประสบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจปัญหาสำคัญที่คนงานประสบเนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจ • เลิกจ้างคนงาน -ลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้ได้ผลกำไรมากที่สุด -ทำลายสหภาพแรงงงาน เพื่อลดอำนาจการต่อรองลูกจ้าง “วิกฤติเศรษฐกิจนายจ้างเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส”“วิกฤติจริง หรือเอาวิกฤติมาเป็นข้ออ้าง มาเป็นเครื่องมือ”

  6. รากเหง้าปัญหา -ทุน ต้องการทำผลกำไร ลดตั้นทุนการผลิต ทำลายสหภาพแรงงาน -รัฐ กลไกเอื้อต่อทุน แทนที่จะปกป้องสิทธิแรงงาน (กระบวนการยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กฎหมาย)

  7. ผลกระทบต่อคนงาน • คนงาน (จิตใจ เครียด), ร่างกาย โรคเกิดจากการทำงาน • ผลต่อปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต • ผลกระทบต่อครอบครัว ชีวิตความเป็นอยู่ ครอบครัวแตกแยก • ผลกระทบต่อสังคม (ปัญหาสังคม เช่นอาชญากร ครอบครัวแตกแยก • ผลกระทบขบวนการแรงงาน/ขบวนประชาชน

  8. แนวทางการแก้ไขปัญหา เราสู้กับรัฐและทุน • สหภาพแรงงาน (ยื่นข้อเรียกร้อง, เจรจาต่อรอง, กดดัน, เดินขบวน, นัดหยุดงาน) • กลไกรัฐในระดับประเทศ -กระบวนการยุติธรรม (ศาล) มาตรการทางกฎหมาย -กรรมการสิทธิมนุษยชน -กรรมาธิการแรงงงาน สภาผู้แทนราษฎร • กลไกระหว่างประเทศ -องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) -เครือข่ายแรงงานระหว่างประเทศช่วยในการกดดัน

  9. ประเด็นท้าทาย • แก้ไขปัญหาแรงงานที่ประสบปัญหาได้อย่างไร จะแก้ไขปัญหาที่รากเหง้าได้อย่างไร (รัฐ และทุน) • จะสร้างอาสาสมัคร อสส และ อสร ที่มีทั้งหัวใจ ความรู้ ทักษะได้อย่างไร เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาแรงงงาน • ศูนย์ช่วยเหลือจัดการแรงงานในภาวะวิกฤติจะยั่งยืนได้อย่างไร • แรงงงานไม่แบ่งแยก เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (แรงงานในและนอกระบบ แรงงงานข้ามชาติ) ขบวนการแรงงานไม่เข้มแข็ง • “เราพึ่งใครไม่ได้ นอกจากขบวนการแรงงาน”

  10. รัฐมีหน้าที่โดยตรงในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตให้กับคนงานรัฐมีหน้าที่โดยตรงในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตให้กับคนงาน หลายรายเหนื่อย ท้อแท้ ยอมจำนน ยังมีคนงานจำนวนมากที่สู้เพื่อสิทธิของตนเอง และเพื่อขบวนการแรงงานโดยส่วนรวม “สิทธิแรงงานและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์”

More Related