1 / 18

การจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร และ อนุสัญญาภาษีซ้อน

การจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร และ อนุสัญญาภาษีซ้อน. นิรันดร์ ประจวบเหมาะ นักวิชาการภาษีเชี่ยวชาญ สำนักวิชาการแผนภาษี. ความทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซ้อน. อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement: DTA) หมายถึง ความตกลงระหว่างรัฐที่จะพยายามขจัดความซ้ำซ้อนของการจัดเก็บภาษี

lilli
Download Presentation

การจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร และ อนุสัญญาภาษีซ้อน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากรและอนุสัญญาภาษีซ้อนการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากรและอนุสัญญาภาษีซ้อน นิรันดร์ ประจวบเหมาะ นักวิชาการภาษีเชี่ยวชาญ สำนักวิชาการแผนภาษี

  2. ความทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซ้อนความทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาภาษีซ้อน • อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement: DTA)หมายถึง ความตกลงระหว่างรัฐที่จะพยายามขจัดความซ้ำซ้อนของการจัดเก็บภาษี • ความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บภาษีใน 2 ลักษณะ - ความซ้ำซ้อนเชิงเศรษฐกิจ (Economic Double Taxation) - ความซ้ำซ้อนเชิงอำนาจรัฐ (Juridical Double Taxation)

  3. หลักการทั่วไปเกี่ยวกับภาษีซ้อนหลักการทั่วไปเกี่ยวกับภาษีซ้อน • ภาษีซ้อนเชิงเศรษฐกิจ(Economic Double Taxation) มีกำไรสุทธิ 100 บาท เสียภาษี 30 บาท กำไรหลังเสียภาษี 70 บาท ผู้ถือหุ้น จ่ายเงินปันผล

  4. หลักการทั่วไปเกี่ยวกับภาษีซ้อนหลักการทั่วไปเกี่ยวกับภาษีซ้อน ภาษีซ้อนเชิงอำนาจรัฐ(Juridical Double Taxation) ประเทศสิงคโปร์ ประเทศไทย ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น บริษัท ก เสียภาษีร้อยละ 30 เงินปันผล ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย

  5. หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีหลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษี หลักแหล่งเงินได้ (Source Rule) หลักถิ่นที่อยู่ (Resident Rule) หลักสัญชาติ (Citizen Rule)

  6. การเจรจาจัดทำอนุสัญญาฯการเจรจาจัดทำอนุสัญญาฯ • ทวิภาคี (Bilateral Agreement) • เพื่อบรรเทาภาระภาษีและ/หรือขจัดภาษีซ้อน • ปัจจุบันมีผลใช้บังคับ 54 ประเทศ • ล่าสุด ชิลี

  7. รัสเซีย อุซเบกิสถาน เกาหลีใต้ ตุรกี เนปาล อาร์มาเนีย ญี่ปุ่น ไซปรัส ฮ่องกง จีน อิสราเอล คูเวต อินเดีย บาเรนท์ เวียดนาม ลาว ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน เอมิเรตส์ โอมาน บังคลาเทศ อินโดนีเซีย ศรีลังกา มาเลเชีย สิงคโปร์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์

  8. ฟินแลนด์ สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก อังกฤษและ ไอร์แลนด์เหนือ โปแลนด์ โรมาเนีย เยอรมัน เชค เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส ออสเตรีย ลักเซมเบอร์ บัลแกเรีย สเปน สโลวีเนีย อิตาลี สวิสเซอร์แลนด์ ยูเครน ฮังการี เซเชลส์ มอริเชียส แอฟริกาใต้

  9. แคนาดา สหรัฐอเมริกา ชิลี

  10. ความเป็นมาในอดีต ประเทศแรกที่อนุสัญญาฯ มีผลใช้บังคับ สวีเดน ปี 2506 ร่างต้นแบบอนุสัญญาฯ ของ OECD ร่างต้นแบบอนุสัญญาฯ ของ UN

  11. ข้อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่างประเทศข้อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่างประเทศ • ช่วยขจัดภาษีซ้ำซ้อน • เกิดหลักประกันในการเสียภาษีที่แน่นอนและชัดเจน • ส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนและเทคโนโยลีระหว่างประเทศมากขึ้น • ช่วยเพิ่มศักยภาพให้กับประเทศไทยในการแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้าน

  12. ข้อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่างประเทศข้อดีของการมีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับต่างประเทศ • ทำให้การหลีกเลี่ยงภาษีระหว่างประเทศเป็นไปได้ยาก • ช่วยส่งเสริมกิจการขนส่งระหว่างประเทศ • ช่วยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ • ช่วยส่งเสริมการค้า การลงทุน และส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการทูต

  13. ขอบข่ายของภาษีที่เกี่ยวข้องขอบข่ายของภาษีที่เกี่ยวข้อง • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (PIT) • ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CIT) • ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

  14. โครงสร้างของอนุสัญญาภาษีซ้อนโครงสร้างของอนุสัญญาภาษีซ้อน ตามร่างไทยประกอบด้วย • ส่วนที่ 1– อารัมบท (Preamble) • ส่วนที่ 2 – ขอบข่ายของอนุสัญญา (Article 1 - 2) • ส่วนที่ 3 – คำจำกัดความ (Article 3 - 5) • ส่วนที่ 4 – การจัดเก็บภาษีเงินได้ประเภทต่างๆ(Article 6 – 22) • ส่วนที่ 5 – วิธีการขจัดภาษีซ้อน (Article 23) • ส่วนที่ 6 – ข้อบทพิเศษ (Article 24 – 27) • ส่วนที่ 7 – บทส่งท้าย (Article 28 - 29)

  15. วิธีการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อนวิธีการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อน บทบัญญัติข้อ 7 กำไรจากธุรกิจ “1. เงินได้หรือกำไรของวิสาหกิจของรัฐผู้ทำสัญญารัฐหนึ่งให้เก็บภาษีได้เฉพาะในรัฐนั้น เว้นแต่วิสาหกิจนั้นประกอบธุรกิจในรัฐ ผู้ทำสัญญาอีกรัฐหนึ่งโดยผ่านสถานประกอบการถาวรซึ่งตั้งอยู่ในรัฐผู้ทำสัญญาอีกรัฐหนึ่ง ถ้าวิสาหกิจนั้นประกอบธุรกิจดังกล่าวแล้ว เงินได้หรือกำไรของวิสาหกิจนั้นอาจเก็บภาษีได้ในอีกรัฐหนึ่ง แต่ต้องเก็บจากเงินได้หรือกำไรเพียงเท่าที่พึงถือว่าเป็นของสถานประกอบการถาวรนั้น”

  16. สิงคโปร์ สิงคโปร์ “เงินได้หรือกำไรของวิสาหกิจของรัฐผู้ทำสัญญารัฐหนึ่งให้เก็บ ภาษีได้เฉพาะในรัฐนั้น เว้นแต่วิสาหกิจนั้นประกอบธุรกิจใน รัฐผู้ทำสัญญาอีกรัฐหนึ่งโดยผ่านสถานประกอบการถาวรซึ่ง ตั้งอยู่ในรัฐผู้ทำสัญญาอีกรัฐหนึ่ง ถ้าวิสาหกิจนั้นประกอบ ธุรกิจดังกล่าวแล้ว เงินได้หรือกำไรของวิสาหกิจนั้นอาจเก็บ ภาษีได้ในอีกรัฐหนึ่ง แต่ต้องเก็บจากเงินได้หรือกำไรเพียง เท่าที่พึงถือว่าเป็นของสถานประกอบการถาวรนั้น” ไทย ไทย ไทย

  17. การนำประมวลรัษฎากรมาปรับใช้กับอนุสัญญาฯการนำประมวลรัษฎากรมาปรับใช้กับอนุสัญญาฯ การพิจารณาประเภทเงินได้ตามประมวลรัษฎากร การพิจารณาการเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร การพิจารณาหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในอนุสัญญาฯ เนื่องจาก อนุสัญญาฯ เพียงแค่กำหนดสิทธิในการจัดเก็บภาษีแต่ไม่บอกว่าให้เก็บภาษีอย่างไร

  18. ขอบคุณและสวัสดี

More Related