1 / 83

การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน

การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน. ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ วทบ., ศศม., M.A., Ph.D. 1. การปฏิรูประบบราชการ. จุดเน้นที่สำคัญ 3 เรื่อง คือ 1.1 การปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม 1.2 การปฏิรูปวิธีการทำงานของข้าราชการ 1.3 การปฏิรูประบบงบประมาณ.

liora
Download Presentation

การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูประบบราชการไทยการปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ วทบ., ศศม., M.A., Ph.D

  2. 1. การปฏิรูประบบราชการ จุดเน้นที่สำคัญ 3เรื่อง คือ 1.1 การปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม 1.2 การปฏิรูปวิธีการทำงานของข้าราชการ 1.3 การปฏิรูประบบงบประมาณ

  3. 1.1การปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม แก้ไขกฎหมายสำคัญ 2 ฉบับ คือ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 สาระสำคัญประกอบด้วย • การบริหารราชการตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • แบ่งกลุ่มภารกิจและจัดหน่วยงานตามภารกิจให้ชัดเจน และไม่ซ้ำซ้อนกัน • กำหนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ผู้ปฏิบัติงาน

  4. 1.2 การปฏิรูปวิธีการทำงานของข้าราชการ • การนำเทคโนโลยีมาใช้ (E-Government) • การแบ่งงานราชการให้เอกชนทำ • การปรับเปลี่ยนหน่วยงานบางส่วน เป็น องค์การมหาชน • การสร้างหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • การจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement)

  5. 1.3 การปฏิรูประบบงบประมาณ นโยบายรัฐบาล ข้อ 15.2 (เมื่อ 26 ก.พ. 44) • ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ ให้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ • ให้กระทรวง ทบวง กรมมีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้น • จัดให้มีระบบการติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพและโปร่งใส

  6. 2. แนวทางการปรับปรุง พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ: หลักการเชิงนโยบาย • ใช้นโยบายเป็นตัวนำ (Policy Driven) • เน้นการบริการประชาชน • กำหนดเป้าหมายแต่ละระดับให้เป็นรูปธรรม และมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน • เพิ่มบทบาทและความรับผิดชอบของ กระทรวง กรมต่างๆ ในการ บริหารจัดการและปรับเปลี่ยนงบประมาณ • การรักษาวินัยทางการคลังและการจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่าย ล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF: Medium Terms Expenditure Framework) • มีระบบการติดตามและประเมินผลที่โปร่งใส ตรวจสอบได้

  7. 3.บทบาทใหม่ในการจัดทำงบประมาณ ปี 2547 หน่วยงาน รัฐมนตรี/กระทรวง คณะรัฐมนตรี รัฐสภา กำหนดแผนการให้บริการที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการสาธารณะ) ใช้เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลได้แถลงต่อรัฐสภาเป็นมาตรวัดความสำเร็จระดับนโยบาย กำหนดเป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ)ที่สอดคล้องกับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ กำหนดกรอบนโยบายและเป้าหมายทางการคลังล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 3 ปี

  8. 3.บทบาทใหม่ในการจัดทำงบประมาณ ปี 2547 หน่วยงาน รัฐมนตรี/กระทรวง คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ใช้เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ)เป็นกรอบในการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในระดับปฏิบัติ กำหนดทิศทางและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณและรับผิดชอบต่อผลสำเร็จ รับผิดชอบการใช้จ่ายให้เป็นไปตามกรอบเป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) กำหนดเป้าหมายผลผลิต ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแผนการให้บริการ จัดทำคำขอและรับผิดชอบการใช้จ่ายงบประมาณตามเป้าหมาย ผลผลิต ปรับเปลี่ยนงบประมาณภายใต้กรอบเป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) กำหนดนโยบายและ วงเงิน งบประมาณ ประจำปี

  9. 4.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ4.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ รัฐบาล/ค.ร.ม. รัฐสภา หน่วยงาน ประชาชน สามารถอนุมัติ งบประมาณให้สอดคล้องตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาได้อย่างมีความชัดเจนยิ่งขึ้น บริหารนโยบายได้ตามเป้าหมายที่แถลงต่อรัฐสภาและที่สัญญากับประชาชน สามารถ บริหาร งานได้อย่าง คล่องตัว มีประสิทธิภาพ และบรรลุ ผลสำเร็จ ตามเป้าหมาย ได้รับบริการ และแก้ไขปัญหาที่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ สามารถตรวจสอบ รัฐบาลได้ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานได้ ใช้ทรัพยากรของ ประเทศอย่าง คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด สามารถตรวจสอบ หน่วยปฏิบัติได้ตามเป้าหมายการให้บริการ

  10. 5. จุดเน้นสำคัญในการจัดทำงบประมาณปี 2547 5.1 นโยบายการจัดทำงบประมาณปี 2547 ของนายกรัฐมนตรีต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อ 17 ธ.ค. 45 5.2 การจัดทำแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ 5.3 การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF: Medium Terms Expenditure Framework)

  11. 5.1 นโยบายการจัดทำงบประมาณปี 2547 ของนายกรัฐมนตรีต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อ 17 ธ.ค. 45 • มุ่งเน้นการให้บริการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ให้มีวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และกรอบการดำเนินงาน 5 ปี ที่ชัดเจน พร้อมแปลงเป็นงบประมาณ ปี 2547 • ให้ความสำคัญกับการจัดทำงบประมาณ ดังนี้ • ลดงบดำเนินงานปกติ(งบประจำ) เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานเพื่อไปดำเนินงานในส่วนยุทธศาสตร์

  12. 5.1 นโยบายการจัดทำงบประมาณปี 2547 ของนายกรัฐมนตรีต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อ 17 ธ.ค. 45 • กำหนดยุทธศาสตร์กระทรวงปี 2547 ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปี และทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยมีการจัดลำดับความสำคัญ เพื่อให้ไปในทิศทางเดียวกัน • จัดทำงบประมาณของกระทรวงให้ครอบคลุมการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์สำคัญของกระทรวงอย่างครบถ้วน

  13. 5.2 การจัดทำแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ 5.2.1 หลักการและเหตุผล 5.2.2 แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณ ในเชิงบูรณาการปีงบประมาณ 2547

  14. 5.2.1 หลักการและเหตุผล • เพื่อให้การจัดทำและการใช้จ่ายงบประมาณโดยภาพรวมมีการเชื่อมโยงอย่างบูรณาการ สะท้อนภารกิจตามนโยบายของรัฐบาล • เพื่อให้การพิจารณากลั่นกรองงบประมาณเกิดประโยชน์ ประหยัด มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่าต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ

  15. 5.2.1 หลักการและเหตุผล • แสดงความเชื่อมโยงและลดความซ้ำซ้อน ของการดำเนินงาน • ใช้เป็นกลไก เพื่อติดตามและประเมินผล ความสำเร็จของงาน

  16. 5.2.2 แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการปีงบประมาณ 2547 • ใช้นโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณเป็นแนวทางในการจัดทำแผน งบประมาณในเชิงบูรณาการ • รองนายกรัฐมนตรีกำหนดนโยบาย/กำกับแผน และสั่งการข้ามกระทรวงได้

  17. 5.2.2แนวทางการจัดทำแผน งบประมาณในเชิงบูรณาการปีงบประมาณ 2547 • รองนายกรัฐมนตรี / รัฐมนตรี มอบหมายหน่วยงานเจ้าภาพจัดประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผน และคำขอแผน งบประมาณเชิงบูรณาการปี 2547 ในภาพรวม และติดตามประเมินผล • รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีกำกับดูแลอย่างจริงจัง ให้หน่วยงานปฏิบัติตามแผนงบประมาณ ในเชิงบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ

  18. 5.3การจัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF: Medium Terms Expenditure Framework) 5.3.1 วัตถุประสงค์การจัดทำ MTEF 5.3.2 ประโยชน์ของการจัดทำ MTEF 5.3.3 บทบาทในการจัดทำ MTEF ของ กระทรวง /หน่วยงาน 5.3.4 ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี (ประกอบการจัดทำยุทธศาสตร์ของกระทรวงในเบื้องต้น)

  19. 5.3.1วัตถุประสงค์การจัดทำ MTEF • เพื่อให้รัฐบาลเห็นทิศทางของประเทศที่ จะมุ่งไปสู่จุดมุ่งหมาย และภาพรวมของ ภาระงบประมาณที่จะต้องใช้จ่ายในอนาคต

  20. 5.3.2 ประโยชน์ของการจัดทำ MTEF • รักษาวินัยทางการคลัง • มีกรอบในการวางแผน และจัดลำดับความสำคัญ • ส่งเสริมระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน • เป็นพื้นฐานของการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ในแต่ละปี • เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนของหน่วยงาน

  21. 5.3.3 บทบาทในการจัดทำ MTEF ของกระทรวง / หน่วยงาน • ให้ความสำคัญในการจัดทำองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง • กรอบยุทธศาสตร์ของกระทรวง • เป้าหมายการให้บริการ • การกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ

  22. 5.3.3 บทบาทในการจัดทำ MTEF ของกระทรวง / หน่วยงาน • ให้สอดคล้องเชื่อมโยงต่อการบรรลุเป้าหมาย ที่ชัดเจนของ • ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจำปี (กำหนดเสนอ ค.ร.ม. 4 ก.พ. 46) • ทิศทางการพัฒนาประเทศระยะ 5 ปี • ให้จัดทำโดยวิเคราะห์บนพื้นฐานของ ความเป็นไปได้

  23. 5.3.4ทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี(ประกอบการจัดทำยุทธศาสตร์ของกระทรวงในเบื้องต้น) • การแก้ไขปัญหาความยากจนและการพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ • การพัฒนาที่ยั่งยืน • การพัฒนาทุนทางสังคม

  24. การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ สรุปโดย ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์

  25. การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ NEW PUBLIC MANAGEMENT (NPM)

  26. สิ่งควรคำนึงถึง... • ภาพรวมของการบริหาร • กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารงานภาครัฐ • สาเหตุที่ทำให้เกิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • องค์ประกอบสำคัญของ NPM และ Best Practice • ข้อสังเกต • แผนปฎิรูประบบบริหารภาครัฐกับการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่

  27. ภาพรวมของการบริหาร วิสัยทัศน์ บทบาท ภารกิจ โครงสร้าง ระบบงาน แผนงาน งบประมาณ กฎ ระเบียบ การ บริหารบุคคล

  28. กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารงานภาครัฐกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารงานภาครัฐ โครงสร้างองค์การ วัฒนธรรม กลยุทธ์ / การทำงาน

  29. โครง สร้าง องค์การ คล่องตัว/ ลดขนาด องค์การลง เกิดสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างฝ่ายบริหารและ ฝ่ายปฏิบัติการ กระจายงาน กระจายอำนาจ ทำงานในลักษณะ Partnership กับภาคอื่น ถ่ายอำนาจ ให้ผู้ปฏิบัติ ตัดสินใจ ทำงาน เป็นเครือข่าย/ เป็นทีม/ มีส่วนร่วม

  30. วัฒนธรรม ความเป็น มืออาชีพ มีความคิด สร้างสรรค์ ริเริ่มสิ่งใหม่ มุ่งแก้ปัญหา/ เข้าถึงปัญหา สามารถ ปรับตัว ตลอดเวลา ทำงาน เชิงรุก/สนับสนุน การกระตุ้น ให้เกิด การเปลี่ยนแปลง

  31. กลยุทธ์ มองการณ์ไกล มีวิสัยทัศน์ชัดเจน คิดเชิงรุก/ ทำงานแบบผสมผสาน คำนึงถึง กระแสโลกและ การเปลี่ยนแปลง มีมาตรฐาน/วัดผลได้ และรับผิดชอบ อย่างเต็มที่ เสมอภาค เป็นธรรม โปร่งใส เน้น คุณภาพ/ คำนึงความคุ้มค่า และความต้องการ ของลูกค้า การทำงาน

  32. กระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหารงานภาครัฐกระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหารงานภาครัฐ “การทำงาน” • มุ่งผลลัพธ์ • ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า/ประชาชน • เน้นคุณภาพ • คำนึงถึงความคุ้มค่า • มีมาตรฐาน วัดผลได้ • ทำด้วยความรับผิดชอบเต็มที่ • เสมอภาค เป็นธรรม โปร่งใส • คิดค่าบริการแบบ User / Impact Charges

  33. สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิด NPM. 1. กระแสโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี 2.รัฐมีบทบาทมากเกินไปในระบบเศรษฐกิจ 3. โครงสร้างภาษีของรัฐ 4. ค่านิยมประชาธิปไตยที่เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน 5. การแข่งขันทางธุรกิจที่สูงขึ้น 6. เกิดแนวความคิดใหม่เกี่ยวกับบทบาทภาครัฐ 7. ประสบการณ์จากต่างประเทศ 8. บทบาทของสื่อมวลชน

  34. แนวคิดใหม่ เกิดจากแรงกดดันจากสาเหตุต่าง ๆ ทำให้ ภาครัฐต้องพิจารณาตัวเองว่าจะปรับตัวอย่างไร ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ จึงเกิดเป็นแนวคิดที่เรียกว่า การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ หรือการปฏิบัติราชการแนวใหม่ (New Public Management : NPM.)

  35. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • บทบาทหน้าที่ชัดเจน • เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ชัดเจน • ปฏิบัติโดยมืออาชีพที่มีความเป็นกลาง • ข้อมูลกว้างขวาง เพรียบพร้อม • มอบอำนาจการบริหารจัดการ • การกระจายความรับผิดชอบ

  36. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • ระบบการตรวจสอบข้อมูลจากภายนอก • เน้นลูกค้า ผู้รับบริการ • ใช้กลไกตลาด • รูปแบบองค์กร เน้นให้เกิดความรับผิดชอบสูง • มุ่งต่อผลสำเร็จมากกว่าเน้น กฎระเบียบและ • กระบวนการ

  37. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • แปรรูป / จ้างเหมาให้ภาคอื่นรับงานไป • บทบาทและที่มาของภารกิจชัดเจน • มีการทำสัญญา (Performance Agreement) • นำเทคนิคการบริหารของภาคเอกชนมาปรับใช้ • การบริหารจัดการภาครัฐเกือบเหมือนกับภาคเอกชน

  38. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • แยกหน่วยนโยบายจากหน่วยปฏิบัติ • แยกหน่วยจัดสรรทรัพยากรและผู้ซื้อบริการ • จากหน่วยที่ให้บริการ • มีการแข่งขันระหว่างหน่วยให้บริการ • จัดกลุ่ม/ปรับย้ายภารกิจ เพื่อความมีเอกภาพ • และประสิทธิภาพ

  39. องค์ประกอบสำคัญ 1. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน 2. ลดการควบคุมจากส่วนกลางและให้อิสระในการบริหาร ให้แก่หน่วยงานปฎิบัติ 3. มีการวัดผลการดำเนินงานและให้รางวัลแก่องค์กรและ เทคโนโลยี 4. มีระบบสนับสนุนทั้งด้านบุคลากรและเทคโนโลยี 5. เปิดกว้างแนวคิดในเรื่องการแข่งขัน 6. ภาครัฐทบทวนบทบาทตัวเอง

  40. ข้อสังเกต 1. จะปรับแนวคิดการปฏิบัติราชการแนวใหม่ให้เหมาะสมกับ ความต้องการ ค่านิยม และวัฒนธรรมของไทย ได้อย่างไร 2. บทบาทที่เหมาะสมของภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ควรพิจารณาให้ละเอียดต่อไป 3. ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมือง กับ ข้าราชการประจำควร จะเป็นอย่างไร 4. การรักษาระบบคุณธรรมให้คงอยู่ได้อย่างไร ในขณะที่มีการ กระจายอำนาจ จากส่วนกลาง สู่ ท้องถิ่น และจากภาครัฐ สู่ เอกชน 5. จะสร้างระบบ RBM ให้เป็นรูปธรรมได้อย่างไร

  41. แผนปฎิรูประบบบริหารภาครัฐกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แผนปฎิรูประบบบริหารภาครัฐกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 11 พฤษภาคม 2542 แผนปฎิรูประบบบริหารภาครัฐ ปฎิรูปในลักษณะองค์รวม เปลี่ยนแปลงระบบบริหารภาครัฐ สู่ รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ * เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์ * เป็นระบบที่ยึด”ประชาชน” เป็นศูนย์กลาง (People Center)

  42. สาระสำคัญของแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐสาระสำคัญของแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ การปฏิรูประบบบริหารภาครัฐนี้จะครอบคลุมใน 5 ด้าน ดังนี้ • แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ • แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเป็นระบบ งบประมาณแบบผลลัพธ์ • แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล • แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย • แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม

  43. แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ สศช. + สกพ. สงป. สกพ. สกฎ. สกพ. ส่วนราชการต่าง ๆ ปรับบทบาท ภารกิจ งบประมาณ ระบบบริหาร บุคคล กฎหมาย วัฒนธรรม และค่านิยม แผนกลยุทธ์ งบประมาณแบบ มุ่งเน้นผลงาน ปฏิรูป PC ปรับปรุงกม. ที่ล้าสมัย Good Governance APO ESU ราชการไทย ใสสะอาด SES ตรากม.ใหม่ ร่าง พรบ.ฯ ตามรอย พระยุคลบาท ระบบบัญชี การเงินภาครัฐ PSO RBM Early Retirement ปรับปรุงวิธี ร่าง กม. ค่านิยมสร้างสรรค์ และจรรยาบรรณ กระจายอำนาจ

  44. การปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างภาครัฐ

  45. ภารกิจหลักสำคัญของภาครัฐซึ่งมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รักษาความมั่นคง ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารจัดการประเทศ ซึ่งมีระบบบริหาร กิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็นแกนกลางแบ่งออกได้เป็น 11 กลุ่ม….. กลุ่มที่ 7 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านการคมนาคม สื่อสารและการขนส่งให้เอื้อต่อการดำรงชีวิต ความได้เปรียบในการแข่งขันและเพิ่มประสิทธิภาพการทำธุรกิจ และนำไปสู่การเป็นศูนย์กลางเครือข่ายการคมนาคมขนส่งของภูมิภาค กลุ่มที่ 1กำหนดยุทธศาสตร์และนโยบายพัฒนาประเทศ การบริหารราชการมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรม มีการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลสัมฤทธิ์ ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร และทราบความคืบหน้า การบริหารงานภาครัฐ เพิ่มสมรรถนะ กลุ่มที่ 8 บริหารรายได้รายจ่ายของรัฐ จัดสรรทรัพยากรและบริหารทรัพย์สินให้มีประสิทธิภาพเพื่อความมีเสถียรภาพทางการเงิน การคลัง และความมั่งคั่งอันยั่งยืนของประเทศ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล กลุ่มที่ 2 จัดให้มีมาตรการสนับสนุน และพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย กลุ่มที่ 9 พัฒนาประชากรให้มีสุขภาพ มีความรู้ ความคิดกว้าง ไกล มีพลานามัยและศักยภาพด้านกีฬา มีวัฒนธรรมที่ดีงามเพื่อ ให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ เป็นสังคมแห่งความรู้คู่คุณธรรมพร้อมนำประเทศชาติไปสู่ความมั่งคั่ง มีชื่อเสียง มีเกียรติ และมี ศักดิ์ศรี สามารถดำรงตนร่วมกับสังคมโลกได้อย่างมีความสุข กลุ่มที่ 3 จัดให้มีการสนับสนุนกิจการส่วนพระองค์ และโครงการตามพระราชดำริ ชัดเจนเป็นเอกภาพ กลุ่มที่ 4 ส่งเสริมการผลิตเพื่อสร้างรายได้ และสร้างเสริมศักยภาพการแข่งขัน และปกป้องผลประโยชน์ของชาติ ในสังคมโลก กลุ่มที่ 10 จัดระเบียบสังคม สร้างความเป็นธรรมในการดำรงชีวิต พัฒนาบรรทัดฐานทางสังคม คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ พัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ให้มีงานทำและรายได้เป็นที่พึ่งของตนเองและผู้อื่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาสังคม เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิต มีสวัสดิการที่เหมาะสม มีเกียรติภูมิ รู้เท่าทันโลกมุ่ง ประโยชน์ส่วนรวม เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้สังคมมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทันโลก ทันสมัย กลุ่มที่ 5 ดูแล พัฒนา การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและรักษาดุลยภาพของสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เอื้อต่อการดำรงชีวิตเกิดความสมดุลในการพัฒนาและเป็นรากฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในประเทศอย่างยั่งยืน คุ้มค่า กลุ่มที่ 11 กำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงชาติ การรักษาอธิปไตย การจัดระเบียบสังคม และอำนวยความยุติธรรมการเสริมสร้างความสงบสุขของสังคม ตลอดจนการส่งสริมความเข้มแข็งของสังคม เพื่อให้ประชาชนมีความมั่งคั่งและประเทศชาติมีความมั่นคง กลุ่มที่ 6 พัฒนาองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจและ การแข่งขัน เพื่อประชาชน

  46. การปรับปรุงบทบาทภารกิจของกระทรวงใหม่การปรับปรุงบทบาทภารกิจของกระทรวงใหม่ กระทรวงใหม่ กระทรวงเดิม ภาครัฐทำเฉพาะงานที่จำเป็น มีภารกิจทชื่อมโยงกันและ มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ยุบเลิกงานที่หมดความจำเป็นและ ถ่ายโอนงานให้เอกชน ท้องถิ่นดำเนินการ

  47. ตัวแบบการจำแนกกลุ่มองค์กรภาคราชการตัวแบบการจำแนกกลุ่มองค์กรภาคราชการ กรอบแนวทางการออกแบบส่วนราชการใหม่ Private Sector Public Sector Devolution Corporatization Privatization ส่วนกลาง ราชการ (GO) องค์กรบริหาร ประสิทธิภาพ (ESU) องค์การมหาชน (APO) รัฐวิสาหกิจ (SE) บริษัท เอกชน (Private Entities) ภูมิภาค หน่วยงานราชการ NGOs องค์กรประชาชน Decentralization ท้องถิ่น หน่วยงาน ท้องถิ่น (LGO) ดำเนินการร่วมกัน จ้างเหมาเอกชน

  48. กระทรวงตาม ร่าง พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ ภารกิจเร่งด่วนของ รัฐบาล (ขนาดเล็ก) • การพัฒนาสังคมและ • ความมั่นคงของมนุษย์ • เกษตรและสหกรณ์ • คมนาคม • ทรัพยากรธรรมชาติและ • สิ่งแวดล้อม • พาณิชย์ • แรงงาน • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ศึกษาธิการ • สาธารณสุข • อุตสาหกรรม • การท่องเที่ยว • และกีฬา • เทคโนโลยีสารสนเทศ • และการสื่อสาร • พลังงาน • วัฒนธรรม • สำนักนายก- • รัฐมนตรี • กลาโหม • การคลัง • การต่างประเทศ • มหาดไทย • ยุติธรรม

  49. การปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้าง ของกระทรวงต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

  50. การปรับบทบาท ภารกิจโครงสร้างส่วนราชการกระทรวงมหาดไทย.... VALUE CHAIN กลุ่มที่ 11.2 กระทรวงมหาดไทยจะเสริมสร้างความสงบสุขในสังคม ความมั่นคงภายใน และส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งสามารถปกครองตนเองได้ และเป็นส่วนหนึ่ง ของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน รวมทั้งเสริมสร้างวงจรเศรษฐกิจที่ยั่งยืน สังคม สงบสุข ยุทธศาสตร์ ความมั่นคงภายใน เสริมสร้างความ มั่นคงภายใน พัฒนา การบริหาร ราชการ ของจังหวัด ส่งเสริม องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น สร้างความ เข้มแข็ง ของชุมชน ให้หลักประกัน ความปลอดภัย ในชีวิต และทรัพย์สิน • กำหนดนโยบาย • การพัฒนาชุมชน • เพื่อสร้างความ • เข้มแข็ง • ของชุมชน • พัฒนารูปแบบ • การพัฒนาชุมชน • ให้สอดคล้องกับ • ความต้องการ • ของชุมชน • ส่งเสริมศักยภาพ • และกระบวนการ • เรียนรู้ของประชาชน • กำหนดนโยบาย • ด้านความปลอดภัย • เพื่อเป็นหลักประกัน • ในชีวิตและทรัพย์สิน • ของประชาชน • กำหนดมาตรการ • ป้องกันและบรรเทา • สาธารณภัย/อุบัติภัย • ฟื้นฟูผู้ประสบภัย • ให้คืนสู่สภาพปกติ • วางแผนยุทธศาสตร์ • จังหวัดตามความ • ต้องการของท้องถิ่น • และสภาพพื้นที่ • ประสานความร่วมมือ • ในพื้นที่ • สร้างระบบการ • บริหารจัดการที่ดี • เพื่อแก้ไขปัญหา • และพัฒนาพื้นที่ • สนับสนุนให้ • ภาคเอกชน • และภาคประชาชน • มีส่วนร่วมในการรักษา • ความมั่นคงภายใน • เสริมสร้างความ • สงบสุข • ของสังคม • พัฒนาระบบงาน • ทะเบียนราษฎร์ • เพื่อการพัฒนา • ประเทศ • ส่งเสริมประสิทธิภาพ • การจดทะเบียนสิทธิและ • นิติกรรมและออก • เอกสารสิทธิ • ส่งเสริมองค์กร • ปกครองส่วนท้องถิ่น • ให้มีขีดความสามารถ • ในการบริหารจัดการ • ประสานและบูรณา • การแผนของท้องถิ่น • เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ • พัฒนาระบบบริหาร • งานบุคคลของท้องถิ่น • ให้เป็นไปตามระบบ • คุณธรรม • สนับสนุนงานคลัง • ท้องถิ่นให้เกิดความ • โปร่งใส และ • ตรวจสอบได้ • ตรวจสอบติดตาม • ผลการดำเนินงาน • ของท้องถิ่นเพื่อเป็นการ • สร้างหลักประกันในการ • ให้บริการที่ดีแก่ประชาชน • กำหนดนโยบาย • ด้านความมั่นคง • เพื่อรักษา • ความสงบ • ภายในประเทศ • จัดทำแผน • ปฏิบัติ • เพื่อนำไปสู่ • การปฏิบัติ

More Related