1 / 17

แนวทางการดำเนินงาน การ ขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer

แนวทางการดำเนินงาน การ ขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer. วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 ณ จังหวัดอุบลราชธานี. โดย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายโอฬาร พิทักษ์). นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. -. Smart Farmer

louis
Download Presentation

แนวทางการดำเนินงาน การ ขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงาน การขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 ณ จังหวัดอุบลราชธานี โดย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายโอฬาร พิทักษ์)

  2. นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - • Smart Farmer • - มีความรู้ในเรื่องที่ทำอยู่ • มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ • มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค • มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม • มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร • Smart Officer • มีความรักเกษตรกรเหมือนญาติ • มีความรอบรู้ทางวิชาการและนโยบาย • ใช้เทคโนโลยีมาช่วยเหลือเกษตรกร • สร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร • มุ่งนำเกษตรกรสู่ Green Economy และ Zero waste agriculture • มีความภาคภูมิใจในองค์กรและความเป็นข้าราชการ นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย นายยุคล ลิ้มแหลมทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ไว้เมื่อการประชุมวันที่ 5 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 134 -------------------------------------------------------------------------------- “เกษตรกรไทยเป็น Smart Farmer โดยมี Smart Officer เป็นเพื่อนคู่คิด”

  3. กรอบแนวคิดการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - MOAC TV/IPTV Goal • Improve Productivity • Income (>180,000 baht/household) • Balance Demand & Supply • Competitiveness • Value Creation • Logistics Cost Zoning (land use, land Suitable) R&D,S&T Information Center 1.Data Access for Utilization 2.Knowledge Base 3.Planing & feasibility Study Smart Farmer 7.Proud to Be Farmer 4.Management (production & market) DC, Seed. Hub, Mechanic center, Cropping pattern Smart Officers/ ID Card 6.Green Economy 5.Food Safety Soft Loan, Standardize & Certification, Harmonize Green City reduce reuse recycle recovery low carbon National Surveillance

  4. กรอบแนวคิดการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ) - Services Mind เข้าใจ เข้าถึงพัฒนา Cropping Pattern Land Use Land Suitable Research & Development Science& Technology Proud to Be Knowledge Base Classification and Segmentation ยุทธศาสตร์ ประเทศ กระทรวง กลุ่มจังหวัด จังหวัด Smart Officer Thinking Method & Sense of Awareness Balance Demand & Supply ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์

  5. กรอบแนวคิดการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ) - ระดับความต้องการของเกษตรกร (Need) ที่แตกต่างกันในแต่ละคน Supply Side Demand Side องค์ความรู้ทางวิชาการผลิต pre/post harvest องค์ความรู้ด้านการตลาด (market structure consumer behavior) ข้อมูลดิน น้ำ อากาศ แนวโน้มสถานการณ์ภัยพิบัติ ข้อมูลภาวะราคาและแนวโน้มราคา (pricing & setting the price) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนากระบวนการและตัวสินค้า ข้อมูลปริมาณและความต้องการบริโภคภายในและต่างประเทศ เงินทุน แหล่งสินเชื่อ มาตรฐานสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการหรือกำหนด มาตรฐานและคุณภาพของปัจจัยการผลิต Smart Officer จะต้องจำแนกระดับความต้องการ ของเกษตรกรแต่ละรายที่มีความแตกต่าง และนำเสนอความต้องการของ Smart Farmer ให้เหมาะสม การบริหารจัดการการผลิต (farm/cost/pollution management)

  6. กลไกการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer - - - - • องค์ประกอบ • รองปลัด กษ. (นายโอฬาร พิทักษ์) เป็นประธาน • - รองหัวหน้าส่วนราชการใน กษ. และผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการ • - ผอ. สผง. สป.กษ. เป็นเลขานุการ กำหนดแนวทาง การขับเคลื่อนฯ กำกับ ดูแล ให้คำแนะนำ และติดตามการปฏิบัติงาน รายงาน ผลการดำเนินงานต่อ รมว. แต่งตั้งคณะ อนุกรรมการ และ/หรือคณะทำงาน กำหนดคุณสมบัติพื้นฐาน อยู่ระหว่างการแต่งตั้ง คณะทำงานขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ระดับกรม • องค์ประกอบ • รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน • ผอ. สำนัก/กอง ด้านการพัฒนาเกษตรกรและบุคลากร ICT และกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร • ผู้แทนภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนภารกิจของกรม • - ผอ. สำนัก/กอง ด้านแผนงานเป็นเลขานุการ อำนวยการให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนนโยบาย ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ต่อคณะกรรมการฯ กำหนดคุณสมบัติเฉพาะตามภารกิจ ของกรม สรุปบทเรียน & องค์ความรู้ ปรับปรุงฐานข้อมูล ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงานขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ระดับจังหวัด อยู่ระหว่างการแต่งตั้ง • องค์ประกอบ • รองผู้ว่าฯ ที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน • หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด • ผู้แทนสภาหอการค้าจังหวัด, สภาอุตสาหกรรมจังหวัด, พาณิชย์จังหวัด, สถิติจังหวัด, ธ.ก.ส. สาขา,สภาเกษตรจังหวัด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • - กษ.จว. เป็นเลขานุการ สำรวจ คัดเลือก และคัดกรองเกษตรกรเป้าหมาย ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ต่อคณะกรรมการฯ จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรฯ จังหวัด จัดทำข้อมูล Smart Farmer และ Smart Officer ประสานความร่วมมือสร้างเครือข่ายขยายผล MRF (Mapping/ Remote Sensing/ Field Service)

  7. แนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer Smart Farmer คือใคร ? • Smart Farmer มาจากไหน ? - - - • ความหมายในเชิงกระบวนการ • “เกษตรกรเป้าหมายของ กษ. ซึ่งเป็นผลผลิตหนึ่งของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ที่ต้องร่วมดำเนินงานตามภารกิจหลัก/งาน/โครงการ/กิจกรรม ให้สามารถส่งผลให้เกิดการพัฒนาเกษตรกรเป้าหมายให้เป็น Smart Farmer ได้” • ความหมายในเชิงผลผลิต • “บุคคลที่มีความภูมิใจในการเป็นเกษตรกร มีความรอบรู้ในระบบการผลิตด้านการเกษตรแต่ละสาขา มีความสามารถในการวิเคราะห์ เชื่อมโยงและบริหารจัดการการผลิตและการตลาด โดยใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ คำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค สังคมและสิ่งแวดล้อม” • เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer อยู่แล้ว (Existing Smart Farmer) • ได้มาจากการสำรวจ คัดเลือกเกษตรกรที่มีคุณสมบัติและตัวชี้วัดตรงตามที่กำหนด เช่น อาสาสมัครเกษตร/ปราชญ์ชาวบ้าน/เกษตรกรดีเด่นสาขาต่างๆ/เกษตรกรทั่วไป ที่ได้รับการพัฒนามาแล้วจากหน่วยงานต่างๆ • เกษตรกรเป้าหมายที่จะพัฒนาเป็น Smart Farmer • อาจจะเป็นอาสาสมัครเกษตร/เกษตรกรทั่วไป /ยุวเกษตรกร/เกษตรกรรุ่นใหม่ที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งมีความพร้อมที่จะได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer

  8. คุณสมบัติ และตัวชี้วัดของ Smart Farmer 5 3 6 4 1   2 • 1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี - • 2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านตัวชี้วัดอย่างน้อย 1 ตัวในแต่ละคุณสมบัติ) มีความรู้ในเรื่องที่ทำอยู่ มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ มีการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม/สังคม มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด  สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือให้คำแนะนำปรึกษาให้กับผู้อื่นได้  สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล ทั้งจากเจ้าหน้าที่ และผ่านทางระบบสารสนเทศและการสื่อสารอื่น ๆ เช่น Internet ,Mobile Phone เป็นต้น  มีความ สามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการผลิต แรงงาน และทุน ฯลฯ ตัวชี้วัด  มีความมุ่งมั่นในการประกอบอาชีพการเกษตร  มีกระบวน การผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะและไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม (Green Economy) ตัวชี้วัด  มีการผลิตที่ได้มาตรฐาน GAP GMP หรือเกษตรอินทรีย์ หรือการผลิตที่ได้มาตรฐานอื่นๆ  รักและหวงแหนพื้นที่และอาชีพทางการเกษตรไว้ให้รุ่นต่อไป  สามารถเป็นเกษตรกรต้นแบบหรือจุดเรียนรู้ให้กับผู้อื่น  มีความ สามารถในการเชื่อมโยงการผลิตและการตลาดเพื่อให้ขายผลผลิตได้  มีการบันทึกข้อมูลและใช้ข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์วางแผนก่อนเริ่มดำเนินการ และบริหารจัดการผลผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด  มีกิจกรรมช่วยเหลือชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง  มีความสุขและพึงพอใจในการประกอบอาชีพการเกษตร  มีการจัดการของเหลือจากการผลิตที่มีประสิทธิภาพ (Zero Waste management)  มีการนำข้อมูลมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพของตนเองได้

  9. แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรเป้าหมายเป็น Smart Farmer ตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน (ระดับกรมและจังหวัด) เป็นกลไกขับเคลื่อน Smart Farmer สู่การปฏิบัติ สื่อสารและสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานในสังกัด กษ. คัดกรองเกษตรกรเป้าหมายเพื่อพัฒนาเป็น Smart Farmer กำหนดให้มีเกษตรกร Smart Farmer ต้นแบบจำแนกตามชนิดสินค้า ที่สำคัญ (10 ด้าน ได้แก่ ข้าว ปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ประมง ปศุสัตว์ เกษตรผสมผสาน และ young Smart Farmer) ประกาศเกียรติคุณ Smart Farmer ต้นแบบ การถอดบทเรียนและองค์ความรู้จากเกษตรกรต้นแบบ จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรในระดับจังหวัด สร้างเครือข่ายภาคีจากทุกภาคส่วน การพัฒนาเกษตรกร Smart Farmer การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเป้าหมายเป็น Smart Farmer จะมีการดำเนินการตามวิถีการผลิตที่เหมาะสมของเกษตรกรรายนั้น ๆ จัดทำระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนา Smart Farmer -

  10. แนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Officer Smart Officer มาจากไหน ? Smart Officerคือใคร ? - - - “เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานจะต้องมีการพัฒนาให้เป็น Smart Officer ที่จะช่วยขับเคลื่อน Smart Farmer ในพื้นที่” • เจ้าหน้าที่ที่เป็น Smart Officer อยู่แล้ว (Existing Smart Officer) • ซึ่งจะได้มาจากการสำรวจ คัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติและตัวชี้วัดตรงตามที่กำหนด • เจ้าหน้าที่ที่จะพัฒนาเป็นSmart Officer • ที่เป็นเป้าหมายของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งมีความพร้อมที่จะได้รับการพัฒนาเป็น Smart Officer

  11. คุณสมบัติ และตัวชี้วัดของ Smart Officer 5 4 3 2 6  1 • ผ่านคุณสมบัติ (ผ่านตัวชี้วัดอย่างน้อย 1 ตัวในแต่ละคุณสมบัติ) - มีความรักเกษตรกรเหมือนญาติ มีความรู้ทางวิชาการนโยบาย และการบริหารจัดการงาน/โครงการ รวมถึงเทคนิคการถ่ายทอด สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน สร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร มุ่งนำเกษตรกรสู่ Green Economy และ Zero waste agriculture มีความภาคภูมิใจในองค์กรและความเป็นข้าราชการ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด  มีความมุ่งมั่นและพร้อมจะให้บริการช่วยเหลือเกษตรกรในทุกๆ ด้าน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด  สามารถปรับเปลี่ยนการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิธีการส่งเสริมการเกษตร ให้เข้ากับยุคสมัย  สามารถทำให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่มเป็นกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน หรือสหกรณ์ และเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย  มีการให้บริการการตรวจวิเคราะห์ดิน ปุ๋ย น้ำ โรคและแมลงศัตรูพืช ศัตรูสัตว์ ฯลฯ แก่เกษตรกร  มีองค์ความรู้พื้นฐาน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Knowledge) ที่สามารถถ่ายทอดให้กับเกษตรกรได้  สามารถพัฒนาเกษตรกรให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น  มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์นโยบาย และมีกลยุทธ์ในการทำงาน  มีการนำเทคโนโลยีทางการสื่อสารและระบบสารสนเทศมาใช้ในการทำงานและช่วย เหลือแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร  สร้างจิตสำนึกให้แก่เกษตรกรในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน  เป็นเพื่อนคู่คิด ที่ปรึกษา และมีส่วนช่วยในการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกร/สถาบันเกษตรกร  มีข้อมูลพื้นที่ ชนิดและปริมาณผลผลิต เกษตรกรเป้าหมาย และศักยภาพของพื้นที่ที่ชัดเจน  มีการนำแผนที่ (Map) มาใช้ประโยชน์ในการทำงาน  สามารถส่งเสริมให้เกษตรลดใช้สารเคมี และหากมีการใช้ ต้องใช้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม  สามารถบริหารจัดการงานในพื้นที่ที่จะบูรณาการงานให้ผู้เกี่ยวข้องมาร่วมทำงานช่วยเหลือเกษตรกร  สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้กับเกษตรกร ให้เกษตรกรเข้าใจได้ง่าย และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง  สามารถส่งเสริมให้เกษตรกร มีการหมุนเวียน นำวัสดุเหลือใช้ในฟาร์มมาใช้ให้เกิดประโยชน์  มีความสามารถในการสื่อสารให้เกษตรกรรู้จักวิเคราะห์การผลิต และการบริหารจัดการผลผลิต

  12. แนวทางการขับเคลื่อน Smart Officer - สร้างกลไกขับเคลื่อนนโยบาย Smart Officer สู่การปฏิบัติ มีการตั้งศูนย์ข้อมูลการเกษตร One Stop Service มีการพัฒนาเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงระบบการทำงาน การให้บริการทางวิชาการและข้อมูลแก่เกษตรกรในหน่วยงานต่าง ๆ ปรับปรุงศูนย์ปฏิบัติการในภูมิภาคมาเป็นหน่วยให้บริการความรู้และข้อมูลแก่เกษตรกรเพิ่มมากขึ้น ปรับระบบส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรใหม่

  13. แผนปฏิบัติงานขับเคลื่อนฯ ช่วง 3 เดือนแรก (มกราคม-มีนาคม) - 15 17

  14. แผนปฏิบัติงานขับเคลื่อนฯ ช่วง 3 เดือนแรก (มกราคม-มีนาคม) (ต่อ) -

  15. แผนปฏิบัติงานขับเคลื่อนฯ ช่วง 3 เดือนแรก (มกราคม-มีนาคม) (ต่อ) -

  16. แนวทางการปฏิบัติงานในพื้นที่ของจังหวัดและเป้าหมายภายในมีนาคม 2556 Out put นำร่อง 5 4 3 1 - 2 ตั้งคณะทำงาน นครนายก Kick Off ฉะเชิงเทรา สำรวจคัดกรองเกษตรกร ปลาย มี.ค. 56 ที่ นครนายก และ ฉะเชิงเทรา คัดเลือกต้นแบบ Existing 1. รายได้ (ธ.ก.ส./กตส./ศทส.) กรม/จังหวัดคัดเลือก Smart Farmerต้นแบบ (10 กลุ่ม) ถอดบทเรียน & องค์ความรู้ ประกาศเกียรติคุณSmart Farmerต้นแบบ (10 กลุ่ม) คุณ สมบัติพื้นฐาน 6 ประการ • คุณสมบัติเฉพาะด้าน • ข้าว • ปาล์มน้ำมัน • ยางพารา • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • มันสำปะหลัง • อ้อยโรงงาน • เกษตรผสมผสาน • Young Smart Farmer • ประมง • ปศุสัตว์ • อื่นๆ • > กข. • > ปม. • > ปศ. • > อื่นๆ กรม/จังหวัดคัดเลือก Smart Officer ต้นแบบ Smart Officer ต้นแบบ กสก. กวก. เปิดตัวโครงการ “One ID Card for Smart Farmer” ทำแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด

  17. design byTeerasakDomthongsuk ขอบคุณครับ

More Related