1 / 29

แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการขนส่ง

แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการขนส่ง. แนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง. ภาพรวมโครงสร้างพื้นฐานในปัจจุบัน ต้นทุนโลจิสติกส์ และการขนส่ง นโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา ยุทธศาสตร์ประเทศ และยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม

lucian
Download Presentation

แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการขนส่ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการขนส่งแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการขนส่ง

  2. แนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ภาพรวมโครงสร้างพื้นฐานในปัจจุบัน ต้นทุนโลจิสติกส์ และการขนส่ง นโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา ยุทธศาสตร์ประเทศ และยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ 2

  3. ภาพรวมโครงสร้างพื้นฐานภาพรวมโครงสร้างพื้นฐาน 3

  4. อันดับความสามารถด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศอันดับความสามารถด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ที่มา : กระทรวงการคลัง

  5. เปรียบเทียบโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมไทย และต่างประเทศ Infrastructure Quality Source: The Global Competitiveness Report, World Economic Forum 5

  6. รูปแบบและปริมาณการขนส่งสินค้าในช่วงที่ผ่านมารูปแบบและปริมาณการขนส่งสินค้าในช่วงที่ผ่านมา สัดส่วนการขนส่งสินค้าของประเทศไทย 6

  7. ต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP เปรียบเทียบกับต่างประเทศ ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP หน่วย % GDP 2555 11.5 ล้านล้านบาท เป็นต้นทุนโลจิสติกส์ประมาณ 1.75 ล้านล้านบาท Source: NESDB 7

  8. สัดส่วนการใช้พลังงานของประเทศสัดส่วนการใช้พลังงานของประเทศ ในปี 2554 ประเทศไทยมีการใช้พลังงานทั้งสิ้นเทียบเท่ากับน้ำมัน 71 ล้านตัน โดยเป็นการใช้ในภาคอุตสาหกรรม 36% และ ใช้ในภาคการขนส่ง 35% หรือประมาณ 700,000 ล้านบาท Source: Thailand 20-year Energy Efficiency Development Plan (2011-2030), Ministry of Energy 8

  9. การสูญเสียจากอุบัติเหตุในภาคการขนส่งการสูญเสียจากอุบัติเหตุในภาคการขนส่ง World bank มูลค่าความเสียหายจากอุบัติเหตุในประเทศไทย สูงถึง 232,000 ล้านบาท /ปี ค่าเฉลี่ยมีผู้เสียชีวิตอุบัติเหตุ 1 ครั้ง เสียหาย 5.3 ล้านบาท ค่าอุบัติเหตุมีผู้พิการ 6.2 ล้านบาท 9

  10. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 10

  11. ข้อจำกัดด้านการลงทุนของประเทศไทยข้อจำกัดด้านการลงทุนของประเทศไทย หน่วย : พันล้านบาท • ภาครัฐจะต้องมีการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐาน • นำไปสู่การก่อสร้างของภาคเอกชน เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ตามมา • แม้ว่างบประมาณแผ่นดินจะเพิ่มขึ้นถึง 1.4 ล้านล้านบาท จาก 1.0 ล้านล้านบาท ในปี 2545 เป็น 2.4 ล้านล้านบาท ในปี 2555 แต่งบลงทุนกลับเพิ่มขึ้นเพียง 1 แสนล้านล้านบาทเท่านั้น ปีงบประมาณ 2545 ปีงบประมาณ2555 11

  12. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ ที่มา : กระทรวงการคลัง

  13. การลงทุนโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประเทศในระยะต่อไปการลงทุนโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประเทศในระยะต่อไป 13

  14. นโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554 นโยบายโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาระบบราง เพื่อขนส่งมวลชน การบริหารจัดการระบบขนส่งสินค้าและบริการ พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ประหยัดพลังงาน และลดต้นทุนการขนส่ง พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางราง เช่น ระบบรถไฟทางคู่เชื่อมชานเมืองและหัวเมืองหลัก ระบบรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพ-เชียงใหม่ กรุงเทพ-นครราชสีมา กรุงเทพ-หัวหิน และพัฒนาขยายทางรถไฟสายแอร์พอร์ทลิ้งค์ต่อจากสุวรรณภูมิไปยังชลบุรีและพัทยา เร่งรัดโครงการรถไฟฟ้า 10 สายในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พัฒนาการขนส่งทางแม่น้ำและกิจการพาณิชย์นาวี พัฒนาท่าอากาศยานสากล ท่าอากาศยานภูมิภาค และอุตสาหกรรมการบินของไทย

  15. Connectivity Modal Shift + Multimodal Mobility ยุทธศาสตร์ประเทศ & ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ยุทธศาสตร์ประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม หมายเหตุ : ความต้องการในการลงทุน (flagship project) จำนวน 148 โครงการ วงเงินรวม 4.249 ล้านล้านบาท ที่มา : NESDB

  16. เชียงราย แหล่งผลิตสินค้าเกษตรหลักที่สำคัญตามเขตพื้นที่ (Zoning) ของไทย เชียงใหม่ ผลไม้ ยางพารา แหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย กระจายตัวอยู่ตามแหล่งผลิต ในส่วนภูมิภาคของประเทศ ทั้งนี้ สินค้าเกษตร ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งออกให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ประกอบด้วย หนองคาย ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย ยางพาราผลไม้ มันสำปะหลัง ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าว ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าว ยางพารา ผลไม้ มันสำปะหลัง อ้อย มันสำปะหลัง ผลไม้ ปาล์มน้ำมัน ระยอง กุ้ง ผลไม้ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา กุ้ง สุราษฎร์ธานี ข้าว ปาล์มน้ำมัน ยางพารา กุ้ง ปาล์มน้ำมัน ยางพารา สงขลา สตูล ข้าว ยางพารา นราธิวาส 16

  17. ประเภทของอุตสาหกรรม แยกตามพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ภาคเหนือ • ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ • ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้ำตาล ขนมปัง นมพร้อมดื่ม ผักผลไม้อบแห้ง น้ำผลไม้ ผงชูรส • แปรรูปสินค้าทางการการเกษตร เช่น อาหารสัตว์ เป็นต้น ภาคกลาง พื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล • ชิ้นส่วนยานยนต์ • เคมีภัณฑ์ เช่น ผลิตภัณฑ์พลาสติก ใยสังเคราะห์ • ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ • สินค้าอุปโภคและบริโภค • ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น อาหารกึ่งสำเร็จรูป เครื่องดื่มต่างๆ • เคมีภัณฑ์ • ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ • สินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น แชมพู ยาสีฟัน ภาคตะวันตก • เสื้อผ้าสำเร็จรูป • ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่น อาหารทะเลแช่แข็ง • ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ • ผลิตภัณฑ์อาหาร ไอศครีมโยเกิร์ต โยเกิร์ตแช่แข็งและโยเกิร์ตพร้อมดื่ม ภาคตะวันออก • เคมีภัณฑ์ • ปิโตรเคมี • ชิ้นส่วนยานยนต์ ภาคใต้ • น้ำมันปาล์ม • แร่ยิปซัมแปรรูป • ชิ้นส่วนยานยนต์ 17

  18. ภาคบริการท่องเที่ยวของไทยภาคบริการท่องเที่ยวของไทย 18

  19. ด่านการค้าชายแดนที่สำคัญของไทย 9 ด่าน ด่านเชียงของ จ.เชียงราย ด่านแม่สาย จ.เชียงราย ด่านแม่สอด จ.ตาก ด่านหนองคาย จ.หนองคาย ด่านมุกดาหาร จ.มุกดาหาร ด่านนครพนม จ.นครพนม ด่านอรัญประเทศ จ.สระแก้ว ด่านสะเดา จ.สงขลา ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา

  20. เชียงราย หนองคาย พิษณุโลก เชียงใหม่ นครสวรรค์ ชลบุรี/ระยอง อุดรธานี ภูเก็ต/กระบี่/ พังงา ขอนแก่น มุกดาหาร/นครพนม ตาก นครราชสีมา อุบลราชธานี กรุงเทพมหานครและเมืองบริวาร กาญจนบุรี สระแก้ว ประจวบฯ/เพชรบุรี เมืองศูนย์กลางปัจจุบัน ประตูการค้าชายแดน (Gateway) สุราษฎร์ธานี เมืองศูนย์กลางปัจจุบันและประตูการค้าชายแดน (Gateway) หมายเหตุ : พิจารณากำหนดเมืองศูนย์กลางจาก GPP Per capita (บาท/คน) จำนวนประชากร (คน) จำนวนนักท่องเที่ยว (คน) และปริมาณจราจร (คัน/วัน) สงขลา

  21. “Modal Shift + Multimodal” ปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าทางถนนสู่การขนส่งที่มีต้นทุนต่ำกว่า • พัฒนา/ปรับปรุงโครงข่ายทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนให้มีการขนส่งสินค้าทางลำน้ำและชายฝั่ง • พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ

  22. “Connectivity” พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเดินทางและ ขนส่งไปสู่เมืองศูนย์กลางของภูมิภาคทั่วประเทศ และเชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบ้าน Gateway พัฒนาประตูการค้าหลักและประตูการค้าชายแดน: เพิ่มประสิทธิภาพ ท่าอากาศยานหลักและท่าเรือหลัก พัฒนาด่านการค้าระหว่างประเทศ ถนนเชื่อมด่านฯ และสิ่งอำนวยความสะดวกบริเวณด่านฯ Regional พัฒนาโครงข่ายเชื่อมต่อภูมิภาค : พัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง โครงข่ายระบบรางในเส้นทางสายใหม่ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง

  23. “Mobility” พัฒนาและปรับปรุงระบบขนส่งเพื่อยกระดับความคล่องตัว • Urban พัฒนาระบบขนส่งในเขตเมือง : ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ในกรุงเทพและปริมณฑล 10 สายทาง พัฒนาทางพิเศษ • Intercity พัฒนาโครงข่ายขนส่งเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจหลักภายในประเทศ : พัฒนาโครงข่ายเส้นทางถนนใหม่ในพื้นที่ที่มีกิจกรรมด้านการเกษตร การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ให้เป็น 4 ช่องจราจร 23

  24. หลักเกณฑ์การพิจารณา • สอดคล้องกับแนวทางการเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งทางถนนสู่การขนส่งที่มีต้นทุนต่ำกว่า เช่น ทางรางและน้ำ (Modal Shift) • เชื่อมโยงเมืองเศรษฐกิจหลักในภูมิภาค (Connectivity)เพื่อขยาย ขีดความสามารถและเพิ่มศักยภาพ (Capacity) โครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง • ลดระยะเวลาการเดินทาง/ขนส่ง ลดต้นทุนโลจิสติกส์ ประหยัดพลังงาน (Mobility) ก่อให้เกิดการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่และเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ • ต้องการความต่อเนื่องในการดำเนินการในด้านนโยบายและจำเป็นต้องรับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ • เป็นโครงการที่มีความพร้อมในการดำเนินการ

  25. แผนงาน/โครงการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ปี 2556-2563

  26. วงเงินลงทุนรวม จำนวน 2,000,000 ล้านบาท ทางราง วงเงินรวม 1,651,322 ลบ. ทางถนน วงเงินรวม 243,029 ลบ. สรุปวงเงินลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ปี 2556-2563 • อุโมงค์และสะพานข้ามทาง รถไฟ • โครงข่ายทางหลวงชนบท สนับสนุน Gateway • แก้ไขปัญหาจราจร • ในเมืองใหญ่ • Royal Coast • ทางพิเศษ • ทางน้ำ วงเงินรวม 30,277 ลบ. • ก่อสร้างท่าเรือ และเขื่อนป้องกันตลิ่งพัง พัฒนาด่านของกรมศุลกากร จำนวน 40 ด่าน วงเงินรวม 12,195 ลบ.

  27. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุนผลที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน 1) ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDPลดลงจากปัจจุบันไม่น้อยกว่า 2%(ปัจจุบัน 15.2%) 2) สัดส่วนผู้เดินทางระหว่างจังหวัดโดยรถยนต์ส่วนบุคคลลดลงจาก 59% เหลือ 40% 3)ความเร็วเฉลี่ยของรถไฟขนส่งสินค้า เพิ่มขึ้นจาก 39 กม./ชม. เป็น 60 กม./ชม. และขบวนรถโดยสาร เพิ่มขึ้นจาก 60 กม./ชม. เป็น 100 กม./ชม. 4) สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางรางเพิ่มขึ้นจาก 2.5% เป็น 5% 5) สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางน้ำเพิ่มขึ้นจาก 15% เป็น 19% 6) ลดความสูญเสียจากน้ำมันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่า 100,000ล้านบาท/ปี 7) สัดส่วนการเดินทางรถไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก 5% เป็น 30% 8) ปริมาณการขนส่งสินค้าผ่านเข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนที่สำคัญ เพิ่มขึ้น 5% 9) ปริมาณผู้โดยสารทางรถไฟเพิ่มขึ้นจาก 45 ล้านคนเที่ยว/ปี เป็น 75 ล้านคนเที่ยว/ปี 10) ลดระยะเวลาการเดินทางจาก กทม. ไปยังเมืองภูมิภาค ด้วยรถไฟความเร็วสูงภายในรัศมี 300 ก.ม. รอบกรุงเทพมหานคร ในระยะเวลาไม่เกิน 90นาที จากเดิมที่ใช้ระยะเวลาเฉลี่ยประมาณ 3ชั่วโมง

  28. ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ • ผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาค • ระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่แท้จริง (Real GDP) จะขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก • กรณีที่ไม่มีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน เฉลี่ยในช่วงปี 2556-2563 ร้อยละ 1.0 ต่อปี • การจ้างงานรวมของประเทศเพิ่มขึ้นจากการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ประมาณ • 5 แสนตำแหน่ง • ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจากการนำเข้าสินค้าทุน เฉลี่ยประมาณร้อยละ 1.0 ต่อ GDP • อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 0.16 ในช่วงที่มีการลงทุน • ผลกระทบต่อระดับหนี้สาธารณะ • ระดับหนี้สาธารณะต่อ GDP เพิ่มสูงขึ้น ไม่เกินร้อยละ 50 ต่อ GDP (ปี 2556-2563) • (ยังคงอยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง) 28

  29. ขอขอบคุณ http://www.otp.go.th 29 29 29

More Related