1 / 19

บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ ( The Convention of Drawing )

บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ ( The Convention of Drawing ). มาตรฐานการเขียนแบบ อาจารย์พยุงศิลป์ เปศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ ( Drawing Sizes ). 2.2 หัวกระดาษ ( Title Blocks ). 2.3 เส้นต่าง ๆ ( Lines ). 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering ).

lucrece
Download Presentation

บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ ( The Convention of Drawing )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ(The Convention of Drawing) มาตรฐานการเขียนแบบ อาจารย์พยุงศิลป์ เปศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. 2.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ ( Drawing Sizes)

  3. 2.2 หัวกระดาษ ( Title Blocks)

  4. 2.3 เส้นต่าง ๆ ( Lines)

  5. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) การเขียนตัวอักษรในงานเขียนแบบ มีทั้งวิธีที่ใช้ในการเขียน ( Lettering Set)และแบบที่เขียนด้วยมือ (Free Hand Lettering) - แบบ Written (Single-Stroke Letters ) - แบบ Drawn (Built – Up Letters)

  6. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) แบบ Written (Single-Stroke Letters )หรือบางครั้งเรียก Single-stroke หมายถึงการเขียนอักษรด้วยปากกาหรือดินสอ โดยทั่วไปมีการเขียนเส้นอักษร (stem ) เพียงครั้งเดียวโดยไม่เขียนซ้ำ นั่นคือ ความหนาของเส้นอักษร (stem ) เท่ากับความหนาของเส้นปากกาหรือดินสอที่ใช้เขียน - แบบ Written นิยมใช้ในงานเขียนแบบทั่วไป ทั้งแบบตัวใหญ่ (Capital ) สำหรับหัวข้อหรือคำอธิบายที่มีความสำคัญ ต้องการเน้นให้ชัดเจน และแบบตัวเล็ก(Lower Case ) สำหรับการเขียนบรรยาย คำอธิบายละเอียดต่าง ๆ

  7. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering)แบบ Written (Single-Stroke Letters )หรือบางครั้งเรียก Single-stroke

  8. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering)- อักษรแบบ Written

  9. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) - แบบ Drawn (Built – Up Letters)หมายถึงการเขียนอักษรแบบประดิษฐ์หรือสร้างอักษรที่มีการขีดเส้น (Stroke ) หลาย ๆ ครั้งในการเขียนอักษรแต่ละตัว โดยทั่วไปจะสร้างรูปร่าง (Outline ) ก่อน แล้วจึงระบายรายละเอียดภายใน ใช้ในงานเขียนแบบเพื่อเน้นข้อความที่สำคัญให้เห็นชัดเจน เช่น ชื่อโครงการ ชื่อเรื่อง หมายเลขของ plate เป็นต้น

  10. 2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) - ในการเขียนอักษรทั้งแบบ Written และ Drawn สิ่งที่ต้องคำนึงถึงอีกอย่างหนึ่งคือที่ว่าง (Space ) ที่จะเขียนว่ามากน้อยเพียงใด ซึ่งจะกำหนดรูปแบบหรือขนาดของตัวอักษรด้วย

  11. 2.5 ขั้นตอนการเขียนอักษร 2.5.1 เส้นบรรทัด ( Guide Lines ) เขียนเส้นเบา ๆ ใช้ดินสอคมไส้แข็ง (H- 2H ) เส้นบรรทัดจะกำหนดความสูงของตัวอักษร ช่องห่างระหว่างบรรทัดกว้างประมาณ 60% ของความกว้างบรรทัด การกำหนดบรรทัดอาจใช้ Divider ดังในรูปที่ 2.5

  12. 2.5 ขั้นตอนการเขียนอักษร 2.5.2 ลำดับการเขียนเส้นอักษร ( Order of Strokes ) หากเขียนด้วยดินสอควรใช้เกรด F หรือ HB ต้องมีความคมของดินสอสม่ำเสมอ การจับดินสอ การเคลื่อนที่ของมือและดินสอ ดั่งในรูปที่ 2.6

  13. 2.6 องค์ประกอบ ( Composition) หลังจากได้ทราบวิธีการและฝึกหัดการเขียนอักษรแบบต่าง ๆ ตามมาตรฐานได้จนเป็นที่พอใจแล้ว ในการนำไปใช้งานเขียนแบบ การเลือกขนาดอักษร ตลอดจนการจัดตำแหน่งอักษรเพื่อให้เกิดเป็นคำ เป็นประโยค หรือข้อความ ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้เขียนแบบควรทราบและเข้าใจองค์ประกอบเหล่านี้ด้วย -ช่องว่างระหว่างอักษร (Spacing ) -ระยะห่างระหว่างคำ ( Word Spacing) -องค์ประกอบกลุ่มคำ ( Word Composition)

  14. 2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) ในงานเขียนแบบ สิ่งสำคัญที่สุดที่ผู้เขียนแบบต้องกำหนดให้ชัดเจน คือ รูปแบบ ขนาด และวัสดุ ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว ย่อมไม่สามารถกำสร้างชิ้นงานให้เป็นไปตามแบบนั้นๆ ได้ การกำหนดขนาดเป็นการบอกให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับขนาด ระยะทาง หรือตำแหน่งต่าง ๆ ของชิ้นงาน ทั้งนี้เพื่อการอ่านแบบ ตีความ ผลิต หรือก่อสร้าง ให้ถูกต้องตามที่รูปแบบกำหนด ทั้งยังเป็นข้อมูลในการวางแผนและประมาณการต่าง ๆ ได้ด้วย

  15. 2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) การกำหนดขนาด แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ 2.7.1 การให้มาตราส่วน ( Scale)

  16. 2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) 2.7.2 การให้ขนาด (Dimensioning ) -เส้นบอกขนาด (Dimension Line ) -เส้นต่อ ( Extension Lines) -หัวลูกศร ( Arrow Head) -ตัวเลขบอกขนาด

  17. 2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) 2.7.3 การระบุขนาด ( Notes)

  18. 2.7 แบบฝึกหัดที่ 2 วัตถุประสงค์ – ฝึกหัดการเขียนอักษรด้วยมือ (Free Hand Lettering ) ,การจัดองค์ประกอบของคำและข้อความให้มีความชำนาญ - รู้หลักการเขียนหัวกระดาษ (Title Block )ที่ดี - ฝึกหัดการให้ขนาด (Dimensions & Notes ) ที่ถูกต้อง ตามหลักสากล

  19. 2.7 แบบฝึกหัดที่ 2 ปัญหา 1. ให้เขียนอักษร Freehand Lettering-Single Stroke ของอักษร A-Z และตัวเลข 0-9 แบบ Capital และ Lower Case ทั้งตัวตรงและตัวเอียง อย่างละ 2 เที่ยว (กำหนดขนาดเองตามเหมาะสม) 2. ให้คัดลอกบทความภาษาอังกฤษ โดย Free hand Lettering – Single Stroke ทั้งแบบตัวตรงและตัวเอียง อย่างละ 7 บรรทัด เป็นอย่างต่ำ พร้อมทั้งออกแบบ Title Block ที่เหมาะสม (กำหนดขนาดอักษรเอง) 3. จงเขียนแบบของชิ้นงานตามแบบที่กำหนดให้อย่างประณีตพร้อมทั้งให้ขนาดแบบต่อเนื่อง (Continuous Dimensioning ) ให้ครบถ้วยและถูกต้องตามหลักสากล (Dimensions in mm. )

More Related