1 / 43

การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ

การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ. จัดทำโดย หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. การวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือ. มี 4 ขั้นตอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร 2. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. กำหนดชนิดของเครื่องมือประเมิน 4. กำหนดเกณฑ์การประเมิน.

Download Presentation

การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ การจัดทำเครื่องมือ จัดทำโดย หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. การวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดทำเครื่องมือ มี 4 ขั้นตอน 1. วิเคราะห์หลักสูตร 2. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. กำหนดชนิดของเครื่องมือประเมิน 4. กำหนดเกณฑ์การประเมิน

  3. การวิเคราะห์หลักสูตร พิจารณาจาก จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐาน รายวิชาหรือสมรรถนะรายวิชา และคำอธิบาย รายวิชา เมื่อสิ้นการเรียนการสอนของแต่ละ รายวิชาผู้เรียนต้องมีความรู้ความสามารถอะไร

  4. การวิเคราะห์หลักสูตร จุดประสงค์รายวิชา เป็นตัวกำหนดต้องประเมินด้านใด มาตรฐานรายวิชาหรือสมรรถนะรายวิชา เป็นตัวกำหนดขอบเขตการสอนและการประเมิน คำอธิบายรายวิชา เป็นตัวกำหนดหน่วยการเรียน

  5. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย..................................รหัสวิชา ................ชื่อวิชา.............................หน่วยกิต.......... ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา........................ผู้รับผิดชอบ.......................................................

  6. กำหนดการสอน

  7. 2101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 1 – 6 – 3 (Gasoline Engine) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1.เข้าใจหลักการทำงานหน้าที่ระบบต่างๆของเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน 2.ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ช่าง ได้ถูกต้องตามขั้นตอน 3.ถอดประกอบตรวจสภาพชิ้นส่วน ปรับแต่งและบำรุงรักษา เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4.มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบสะอาด ประณีตปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม

  8. สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ตรวจสอบบำรุงรักษา ปรับแต่งชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 2. ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 3. ตรวจสภาพชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 4. บำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ 5. ปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สลีนตามคู่มือ

  9. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยใน การทำงาน การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่างยนต์ หลักการทำงาน การถอดประกอบตรวจสภาพชิ้นส่วน ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิดระบบหล่อลื่นระบบระบายความร้อนระบบไอดีและระบบไอเสีย การติดเครื่องยนต์ การปรับแต่งและบำรุงรักษาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

  10. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย เทคนิคประเทศไทย รหัสวิชา 2101-2001 ชื่อวิชา งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน หน่วยกิต1-6-3 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2557ผู้รับผิดชอบ นายศึกษา ชอบสอน

  11. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร วิทยาลัย เทคนิคประเทศไทย รหัสวิชา2101-2001ชื่อวิชา งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน หน่วยกิต1-6-3 ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2557ผู้รับผิดชอบ นายศึกษา ชอบสอน

  12. กำหนดการสอน

  13. เป็นการหาสัดส่วนความสำคัญของ เนื้อหาวิชา ในแต่ละพฤติกรรม ที่สัมพันธ์กับ จุดประสงค์รายวิชาตามหลักสูตร นอกจากนี้ยัง ใช้กำหนดคาบสอนของแต่ละเนื้อหาวิชา และ การวัดและประเมินผลการศึกษา โดยมีขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์หลักสูตร

  14. การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร 1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาใน หลักสูตร โดยพิจารณาพฤติกรรมและเนื้อหา ให้เป็นที่เข้าใจ 2. กรอกรายการเนื้อหาวิชาที่จัดเป็นหัวข้อใหญ่ๆ ลงตารางวิเคราะห์หลักสูตรเป็นหน่วยการเรียน

  15. 2201-2406 การใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล 2 (4) ( Data Presentation Program Usage ) จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจบทบาทและความสำคัญของการนำเสนอข้อมูล 2. รู้หลักการ วิธีการนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมการ นำเสนอ 3. มีทักษะการใช้โปรแกรมการนำเสนอ 4. มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี ใน การใช้คอมพิวเตอร์

  16. มาตรฐานรายวิชา 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการนำเสนอข้อมูลในงานธุรกิจ 2. อธิบายความหมาย หน้าที่ และส่วนประกอบของโปรแกรมนำเสนอ ข้อมูล 3. ประยุกต์ใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูลในการนำเสนอข้อมูลทางธุรกิจ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของการนำเสนอ ข้อมูลหลักการออกแบบงานที่จะนำเสนอ การใช้โปรมแกรมการนำเนอข้อมูล พนมพร แฉล้มเขตต์

  17. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล

  18. 3. กำหนดน้ำหนักคะแนนความสำคัญของแต่ละหน่วยการเรียน ในแต่ละพฤติกรรม ช่องละ 10 คะแนนโดยยึดเกณฑ์น้ำหนักคะแนน ดังนี้ สำคัญที่สุด 9 - 10 คะแนน สำคัญมาก 7 - 8 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน สำคัญน้อย 2 - 3 คะแนน น้อยมากหรือไม่สำคัญเลย 0 – 1 คะแนน พนมพร แฉล้มเขตต์

  19. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 24 28 31 39 38 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 19

  20. 4. นำตารางมาหาผลรวมในแต่ละช่องทางด้าน ขวามือเพื่อให้ทราบลำดับความสำคัญของ เนื้อหา 5. รวมน้ำหนักลงด้านล่าง(พฤติกรรม)จัดลำดับ ความสำคัญของพฤติกรรมที่ต้องการปลูกฝัง 6. ปรับตารางเฉลี่ยให้เป็น 100 หน่วย พนมพร แฉล้มเขตต์

  21. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 24 28 31 39 38 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 21

  22. การแปลงค่าคะแนน 15 24 28 31 39 38 160 • 24 • 24 ×100 • 160 • = 15 18 19 25 23 100

  23. ตารางวิเคราะห์หลักสูตรตารางวิเคราะห์หลักสูตร 5 4 3 1 2 24 28 31 39 38 160 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 24 28 31 39 38 15 18 19 25 23 6 5 5 - 8 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 160 100 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 23

  24. การแปลงค่าคะแนน 6 5 5 - - - - 8 24 4 3 3 - - - - 5 15 24 15 6 6 ×15 24 = 3.75  4

  25. 5 5 5 3 6 5 5 3 5 6 6 5 3 3 4 5 6 5 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 5 4 3 1 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การนำเสนอข้อมูล หลักการออกแบบ การเลือกใช้โปรแกรม โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล การนำเสนอข้อมูล 15 18 19 25 23 6 5 5 - 8 4 3 3 5 7 8 8 5 - 9 8 8 6 - 8 9 9 8 5 5 7 9 9 8 35 37 39 28 21 100 2323241713 3 2 1 4 5 25 ต.ค. 57 พนมพร แฉล้มเขตต์ 25

  26. จากคำอธิบายรายวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน สิ่งที่ต้องประเมินมี ดังนี้ • ความรู้หลักการทำงาน ตรวจสอบบำรุงรักษาปรับแต่ง • เครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ตรวจสภาพและบำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • ปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน • เจตคติที่ประกอบด้วยกิจนิสัยและคุณธรรมจริยธรรม

  27. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมกาเรียนการสอนควรจัดทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อมกันโดยผู้สอนอาจใช้วิธีให้ความรู้ด้วยทฤษฎีหัวงานและให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติที่ละขั้นตอนตามใบช่วยสอนที่กำหนดเมื่อผู้เรียนปฏิบัติครบตามขั้นตอนทุกขั้นตอนแล้วผู้สอนจึงสรุปและเพิ่มความรู้เรื่องทฤษฎีให้ครบทุกรายละเอียด หรือดำเนินการสอนทฤษฎีก่อนทีละเรื่องเมื่อจบทฤษฎีแล้วให้ลงมือปฏิบัติสลับกันไปจนครบตามหลักสูตร

  28. กำหนดชนิดของเครื่องมือในการประเมินกำหนดชนิดของเครื่องมือในการประเมิน - การสอนทฤษฎีต้องใช้การทดสอบความรู้ - การปฏิบัติงานต้องใช้การทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงานซึ่งต้องประกอบไปด้วย กระบวนการที่ได้มาของงาน กิจนิสัยและความใส่ใจในการทำงาน ผลงานที่ได้จากการปฏิบัติงาน ใช้การประเมินความสามารถ

  29. การเลือกเครื่องมือในการประเมินการเลือกเครื่องมือในการประเมิน พิจารณาตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแต่ละหน่วยการเรียน หรือตามสมรรถนะรายวิชาเครื่องมือที่ใช้ประเมินจะขึ้นอยู่กับกิจกรรมการเรียนรู้ของแต่ละหน่วย และแต่ละสมรรถนะนั้นๆ

  30. กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เกณฑ์การให้คะแนน(Scoring Rubric) ของเครื่องมือประเมินแต่ละชนิดต้องมีการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ที่ชัดเจน การกำหนดคะแนนขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องมือและองค์ประกอบของเนื้อหาในส่วนที่เป็นความสำคัญของรายวิชานั้น ๆ

  31. คู่มือหรือคำชี้แจงการให้คะแนนและเกณฑ์การตัดสินคู่มือหรือคำชี้แจงการให้คะแนนและเกณฑ์การตัดสิน 1. สิ่งที่ต้องการประเมิน แยกเป็น ภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ 2. ลักษณะของเครื่องมือประเมิน 3. คะแนนเต็มในแต่ละหัวข้อ 4. วิธีการประเมิน 5. เกณฑ์การผ่านของเครื่องมือแต่ละชุด

  32. กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เครื่องมือเป็นแบบทดสอบถ้าเป็นแบบเลือกตอบ(ปรนัย)ส่วนใหญ่ให้ข้อละ 1 คะแนน เครื่องมือเป็นแบบทดสอบแบบความเรียง(อัตนัย)คะแนนที่ให้จะขึ้นอยู่กับปริมาณของคำตอบ

  33. กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของเครื่องมือ เครื่องมือเป็นแบบประเมิน กรณีที่ใช้ประเมิน การปฏิบัติงาน และชิ้นงาน จำนวนคะแนนขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของหัวข้อในแต่ละข้อของการประเมิน กรณีที่ใช้ประเมินความรู้สึกในการแสดงความคิดเห็น การให้คะแนนจะไม่กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน จะใช้ค่าตัวเลขแทนความรู้สึก

  34. 12 รายวิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน จะทำการประเมินเป็นองค์รวมตามสมรรถนะงานของสมรถนะรายวิชาที่กำหนดโดยประเมิน • ความรู้ในเรื่อง หลักการตรวจสอบบำรุงรักษาปรับแต่งชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบทดสอบ • ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และ เสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน

  35. ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และ เสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการตรวจสภาพและบำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน • ทักษะ เจตคติและกิจนิสัย ในระหว่างปฏิบัติงาน และเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานในการปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีนประเมินด้วยแบบประเมิน

  36. กำหนดเกณฑ์การประเมิน การประเมินตามมาตรฐานรายวิชา รายวิชาที่เน้นทฤษฎี คะแนนที่ให้จะเน้นไปที่เนื้อหาวิชา เกณฑ์ผ่านการประเมินจะไม่สูงมาก ส่วนใหญ่คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50หรือ60 ของคะแนนรวมทั้งหมด รายวิชาที่เน้นปฏิบัติ เกณฑ์ผ่านการประเมินจะสูงกว่าทฤษฎี เกณฑ์จะไม่น้อยกว่าร้อยละ 70หรือ80 ของคะแนนทั้งหมด ผู้เรียนต้องมีความรู้และปฏิบัติได้ไม่ต่ำกว่าที่มาตรฐานกำหนด

  37. การประเมินตามสมรรถนะรายวิชาการประเมินตามสมรรถนะรายวิชา ผู้เรียนต้องมีความรู้และปฏิบัติได้ตามสมรรถนะงานที่รายวิชากำหนดทั้งหมดจนครบทุกสมรรถนะจึงถือว่าผ่านการประเมินในรายวิชานั้น

  38. วิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

  39. วิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

  40. วิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

  41. ทฤษฎี ปฏิบัติ จิตพิสัย แบบทดสอบ แบบประเมิน แบบประเมิน แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ ประเภทเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

More Related