1 / 31

เทคนิคการเขียนบทความวิจัย เพื่อเผยแพร่

เทคนิคการเขียนบทความวิจัย เพื่อเผยแพร่. โดย ศาสตราจารย์ ดร . ชัยยงค์ พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์เกสร บุญอำไพ มหาวิทยาลัยบูรพา. ศาสตราจารย์ ดร . ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

mabyn
Download Presentation

เทคนิคการเขียนบทความวิจัย เพื่อเผยแพร่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อเผยแพร่เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อเผยแพร่ โดย ศาสตราจารย์ดร.ชัยยงค์พรหมวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์เกสร บุญอำไพ มหาวิทยาลัยบูรพา

  2. ศาสตราจารย์ดร.ชัยยงค์พรหมวงศ์ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • การศึกษา...ค.บ., ...ค.ม. (จุฬา) ...M.S. in Ed. (Ed. Admin); ...Ph.D in Educational Technology (USC) • ประสบการณ์...หน.ศูนย์โสตทัศนศึกษากลางจุฬาฯ • ...หนึ่งในกลุ่มผู้ก่อตั้งมสธ. • ...ผอ.สำนักเทคโนโลยีการศึกษามสธ. • ...ผู้เชี่ยวชาญด้านฝึกอบรมการศึกษาทางไกลและสื่อสารการศึกษาของUNDP/UNESCOที่อินโดนีเซียศรีลังกามัลดีฟส์อินเดียปากีสถานญี่ปุ่นลาวฟิลิปปินส์ • ...ผู้พัฒนาระบบการสอน“แผนจุฬา”“แผนมสธ.” ระบบการสอนแบบศูนย์การเรียนและการสอนแบบอิงประสบการณ์ (EBA) • ...ผู้อำนวยการโครงการศึกษาไร้พรมแดนมหาวิทยาลัยสุรนารี • ...รองอธิการบดี มสธ. • ...ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สถาบันพระปกเกล้า

  3. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อเผยแพร่”วันพุธที่๓๐เมษายน 2557-เวลา 9:00 -16:00 น.ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน โปรแกรมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ๙.๐๐-๐๙.๓๐ พิธีเปิด (ถ้ามี) ๙.๓๐-๑๐.๑๕ แบ่งกลุ่มจิ๋ว “วิพากย์บทความวิจัย” ๑๐.๑๕-๑๐.๔๕ พัก ๑๐.๔๕-๑๒.๐๐ประชุมรวม บรรยาย“องค์ประกอบและวิธีการเขียนบทความวิจัย” ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐อาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ แบ่งกลุ่ม “ทดลองเขียนบทความวิจัย” ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ พัก ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ ประชุมรวมนำเสนอบทความวิจัย ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ ประชุมรวม รายงานความก้าวหน้า

  4. BUZZ GROUP • ให้สมาชิกที่นั่งติดกัน 3 คน อ่านบทความวิจัยที่กำหนดให้ ๒ บทความ แล้วดำเนินภารกิจต่อไปนี้ • 1) อ่านบทความวิจัยที่ ๑ วิเคราะห์องค์ประกอบและจุดอ่อน/จุดแข็งของบทความวิจัย • 2) อ่านบทความวิจัยที่ ๒ วิเคราะห์องค์ประกอบและจุดอ่อน/จุดแข็งของบทความ • 3) สรุปองค์ประกอบที่ควรจะมีของบทความวิจัย เสร็จแล้ว ส่งตัวแทนรายงานตามประเด็นที่วิทยากรกำหนด

  5. ประเด็นบรรยาย • ความหมาย: บทความวิชาการ vs. บทความวิจัย • องค์ประกอบของบทความวิจัย • การเขียนบทคัดย่อ • การเขียนส่วนนำ • การเขียนส่วนทบทวนวรรณกรรม • การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย • การเขียนผลการวิเคราห์ข้อมูล • การเขียนสรุปการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

  6. ความหมาย:บทความวิชาการ vs. บทความวิจัย • ความหมายบทความวิชาการ (Academic Articles) เป็นบทความนำเสนอความคิดเห็นทางวิชาการ โดยเสนอแนวคิด ทฤษฎี หลักการที่มีอยู่แล้ว หรือของใหม่โดยมีการอ้างอิงความเห็นของนักวิชาการและวิเคราะห์สังเคราะห์ด้วยประสบการณ์ส่วนตน • หากเป็นการขยายความจากวิทยานิพนธ์ต้องมีประเด็นหรือผลการศึกษาค้นคว้าที่เพิ่มเติมจากวิทยานิพนธ์

  7. องค์ประกอบของบทความวิชาการองค์ประกอบของบทความวิชาการ • บทความวิชาการ • บทคัดย่อ • บทนำ-สั้นๆ เพื่อเกริ่นนำ • เสนอเนื้อหา ตามประเด็นหลักและประเด็นรอง • เสนอตารางและภาพประกอบ • สรุป • บรรณานุกรม • ประวัติผู้เขียน

  8. การเขียนบทความวิชาการการเขียนบทความวิชาการ • ความนำ • เนื้อหา • สรุป • บรรณานุกรม

  9. 1. ความนำ • เขียนเกริ่นนำให้ผู้อ่านรู้ว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร • มีวัตถุประสงค์อะไร • มีเนื้อหาที่เป็นหัวข้อใหญ่ๆหรือประเด็นหลักอะไรบ้าง • อาจเป็นการบอกความเชื่อมโยงกับเรื่องที่เป็นชุด(series) เดียวกัน

  10. 2. เนื้อหาสาระของบทความ • กำหนดหัวข้อหลัก • มีหัวข้อย่อย อธิบายรายละเอียดให้ชัดเจน • มีอ้างอิงอยู่ในวงเล็บ (เป็นชื่อผู้เขียน/ปีพ.ศ./เลขหน้า) • แต่ละหัวข้อให้ย่อหน้าลงมา • เนื้อหาควรศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ/ตำรา/วารสาร/www 6. ให้ค้นคว้าและอ้างอิงจากแหล่งความรู้อย่างน้อย 3 แหล่ง

  11. 2. องค์ประกอบของเนื้อหา • ความหมาย • ความสำคัญ และประโยชน์ • ประเภท /รูปแบบ /องค์ประกอบ • หลักการ • วิธีการ และProgramต่างๆที่นำมาใช้ • การนำไปใช้ • อย่าลืมอ้างอิงแหล่งที่มาด้วย และ ภาพประกอบ

  12. 3. สรุป • สรุปเนื้อหาที่เขียนมาทั้งหมดให้ได้ใจความสั้นๆ • ประมาณ 4-5 บรรทัด • เป็นความเรียงที่กระทัดรัดสละสลวย • เป็นถ้อยคำสำนวนของผู้เขียนเอง • ไม่ลอกมาโดยไม่มีการอ้างอิง

  13. 4. บรรณานุกรม • ทำตามรูปแบบที่นิยม เช่น • ทิพย์เกสร บุญอำไพ (2553)การจัดระบบการศึกษาตลอดชีวิต ในประมวลสาระชุดวิชาการจัดระบบทางการศึกษา หน่วยที่ 8สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี • ที่มีอ้างอิงไว้ในบทความต้องนำมาใส่ไว้ในบรรณานุกรมให้ครบ • ภาษาอังกฤษใส่ต่อจากภาษาไทย

  14. ความหมายบทความวิจัย • บทความวิจัย(Research Articles) เป็นบทความที่นำเสนอกระบวนการวิจัยครบวงจรตั้งแต่ความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ คำถามวิจัย สมมติฐาน นิยามศัพท์กรอบแนวคิดการวิจัย วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะเพื่อเผยแพร่ในวารสารวิจัย ตามหัวข้องานวิจัย โดยอาจนำเสนอทั้งหมดหรือบางส่วน

  15. องค์ประกอบของบทความวิจัยองค์ประกอบของบทความวิจัย • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วัตถุประสงค์การวิจัย • คำถามวิจัย • สมมติฐานการวิจัย • ขอบเขตการวิจัย • นิยามศัพท์ • ทบทวนวรรณกรรม • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผลการวิจัย • อภิปรายผล • ข้อเสนอแน • บรรณานุกรม • ประวัติผู้วิจัย

  16. การเขียนบทคัดย่อ 1) มีคำว่า “บทคัดย่อ” (ABSTRACT) อยู่กลางหน้ากระดาษ 2) พิมพ์ต่อเนื่องเป็นย่อหน้าเดียว 3) สั้นและกระชับ ไม่ควรเกินครึ่งหน้าA4 4) มีคำหลัก (Keywords)

  17. การเขียนบทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ คือ (1) ….. (2) ….. และ (3) ....... The objectives of this research are three-folds: (1)….. (2)…. And (3)…….

  18. การเขียนส่วนนำ • ให้สรุปจากบทที่ ๑ บทนำ

  19. การเขียนส่วนทบทวนวรรณกรรม • ให้สรุปประเด็นสำคัญจากบทที่ ๒ วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • นำเสนอเฉพาะคำหลักที่เป็นส่วนของชื่องานวิจัยหรือที่ปรากฏในกรอบแนวคิดการวิจัย • สรุปประเด็นสำคัญโยใช้คำพูดของตนเอง • จำแนกเป็นหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย หัวข้อจิ๋ว โดยมีหมายเลขกำกับ • แต่ละหัวข้อต้องมีประโยคแนวคิดหรือประโยคหลัก

  20. ประโยคหลัก (Main/Topic Sentence) แผนการสอนประจำหน่วย ชุดวิชา หน่วยที่ 1 สังคมมนุษย์ในปัจจุบัน ตอนที่ 1.1ลักษณะสังคมมนุษย์ในปัจจุบัน 1.2 สังคมจิตนิยม 1.3สังคมวัตถุนิยม แนวคิด 1.สังคมมนุษย์ในปัจจุบันเป็นสังคมทวิภาพอยู่ภายใต้อิทธิพลของสัมผัสทั้ง๕เชื่อว่ามีพระเจ้าแต่ไม่เชื่อว่ามีเทพเทวา แคลงใจในกฎแห่งกรรมเชื่อว่าความสุขจากเกิดวัตถุและมุ่งที่ความอยู่ดีกินดี 2. 3. แผนการสอนประจำตอน ตอนที่ 1.1 ลักษณะสังคมมนุษย์ในปัจจุบัน หัวเรื่อง 1.1.1 สังคมทวิภาพ 1.1.2 อิทธิพลสังคมทวิภาพ 1.1.3 ความเชื่อสังคมทวิภาพ แนวคิด 1. สังคมทวิภาพเป็นสังคมที่มีสองสังคมผสมผสานกันอย่างแยกกันไม่ออก ได้แก่ สังคมบ้านและสังคมเมือง 2. สมาชิกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และ กาย เชื่อว่ามีพระเจ้ามีจริง แต่ไม่เชื่อว่ามี เทพ เทวา แคลงใจในกฎแห่งกรรม คือ ไม่แน่ใจว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว 3.สมาชิกสังคมทวิภาพ เชื่อว่า ความสุขเกิดจากบ้านใหญ่โต และมีทรัพย์สินเงินทอง มุ่ง “อยู่ดีกินดี” มากกว่า “อยู่เย็นเป็นสุข”

  21. โครงสร้างการเสนอเนื้อหาโครงสร้างการเสนอเนื้อหา เรื่องที่ 1.1.1สังคมทวิภาพ ชื่อเรื่อง เกริ่นนำ ประโยคหลัก (แนวคิด) อธิบายเนื้อหา สรุป กิจกรรม แนวตอบ

  22. โครงสร้างการเสนอเนื้อหาโครงสร้างการเสนอเนื้อหา ๑. สังคมบ้าน สังคมบ้าน เป็นสังคมเกษตรกรรมที่เกิดจากครอบครัวญาติมิตรสมาชิกชุมชนประกอบอาชีพด้วยผลผลิตทางเกษตรกรรม มีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย และดำเนินชีวิตตามวิถีวัฒนธรรม ๑.๑ ลักษณะสังคมเกษตรกรรม ๑.๒ ครอบครัวญาติมิตร ๑.๓ การประกอบอาชีพ ๒. สังคมเมือง แนวคิด หัวข้อใหญ่ แนวคิดรอง หัวข้อรอง หัวข้อใหญ่ สังคมทวิภาพเป็นสังคมที่มีสองสังคมผสมผสานกันอย่าง แยกกัน ไม่ออก ได้แก่สังคมบ้าน และสังคมเมือง

  23. การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย • สรุปจากบทที่ ๓ • นำเสนอตามวัตถุประสงค์และขั้นตอนการวิจัย

  24. การเขียนผลการวิเคราห์ข้อมูล การเขียนผลการวิเคราห์ข้อมูล • สรุปมาจากบทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล • เสนอเฉพาะตารางสรุปรวม โดยนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนแล้วตามด้วยตาราง มิใช่ เสนอตารางก่อนแล้วอธิบายตาราง

  25. การเขียนผลการวิจัย • ยกมาจากบทที่ ๕ “ผลการวิจัย” ในรายงานวิจัย หรือบทที่ ๖ กรณีเป็นงานวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา

  26. การเขียนอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ • ยกมาจากบทที่ ๕ “อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ”ในรายงานวิจัย หรือบทที่ ๖ กรณีเป็นงานวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา

  27. บรรณานุกรม • ให้เสนอบรรณานุกรมท้ายบทความวิจัย • ยึดระบบการเขียนบรรณานุกรมหรือการอ้างอิงตามระบบที่เป็นที่ยอมรับ • ใช้ระบบเดียวอย่างเสมอต้นเสมอปลาย • ต้องตรวจสอบการอ้างอิงในเล่มให้ตรงกับในรายการบรรณานุกรม

  28. การเขียนประวัติส่วนตนของผู้วิจัยการเขียนประวัติส่วนตนของผู้วิจัย • ชื่อ สุกล • วุฒิการศึกษา • ที่ทำงานและตำแหน่ง • ประสบการณ์ • ผลงานวิชาการและวิชาชีพ • ผลงานเด่น

  29. THANK YOU Dr. Chaiyong Brahmawong Telephone: 085-594-9505 E-mail: cbrahmawong@hotmail.com tipkesorn1@hotmail.com www.buddhabirthplace.com

  30. ขอบคุณ 1234567890-=]\’12345 67890-= QUOPFJKLV123456 Wgqwertytuiop[[] Asdfghjkl;’ Zxcvbnm,./ QWERTYUIOPP[] ASDFGHJKL;’ ZXCVBNM,./ ๅภถุคตชๆไกดเ้่ื ใ+๑๒๓๔ู฿๕๖๗๘๙ ๐ํ๊็๋ซ()ฺ์ ๅ/-ภถุึคตจขช+๑๒๓๔ู฿๕๖๗๘๙๐”ฎฑธํ๊ณฯญฐ,ๆไำพะัีรนยบลฃ ฤฆฏโฌ็๋ษศซ. ฟหกดเ้่าสวง ผปแอิืทมใฝ ()ฉฮฺ์?ฒฬฦ

  31. การเขียนบทความวิชาการการเขียนบทความวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์เกสร บุญอำไพ

More Related