1 / 22

การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ

การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ. 24 มีนาคม 2557. วสุมดี วสี นนท์ ผู้ช่วยเลขาธิการ สายพัฒนามาตรฐานการ กำกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย. Agenda. 1. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ. การทดสอบภาวะวิกฤต ( Stress test). 2.

macey-vega
Download Presentation

การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการการกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ 24 มีนาคม 2557 วสุมดี วสีนนท์ ผู้ช่วยเลขาธิการ สายพัฒนามาตรฐานการกำกับ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

  2. Agenda 1. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress test) 2. การดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) การบริหารความเสี่ยง (RM) และการกำกับดูแลธุรกิจที่ดี (CG) 3. 4.

  3. การกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการการกำกับธุรกิจประกันภัยแบบบูรณาการ • RBC 2 • Life Stress test QIS1 • เริ่มแนวคิดการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันวินาศภัย • RBC2 (ต่อเนื่อง) • Non-life Stress test QIS1 • Life Stress test QIS2 • เริ่มแนวคิดการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress test) สำหรับบริษัทประกันชีวิต • การกำกับการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง (RBC 1) ERM 2557 2554 2555 2556 2560 2551 2556 2557 • ประกาศฯมาตรฐานขั้นต่ำการบริหารความเสี่ยง • จัดอบรม Compliance Officer • Hearing ประกาศมาตรฐานขั้นต่ำการบริหารความเสี่ยงฉบับที่ 2 • ประกาศฯควบคุมภายในมีผลบังคับใช้ • จัดทำฐานข้อมูลของ BoD

  4. Stress test

  5. วัตถุประสงค์ของการทดสอบภาวะวิกฤตวัตถุประสงค์ของการทดสอบภาวะวิกฤต เสริมสร้างความเข้มแข็งของการกำกับความมั่นคงทางการเงินของธุรกิจประกันภัย (Prudential Supervisory) ยกระดับธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจประกันภัย (Corporate Governance Supervisory) สร้างความเข้าใจและส่งเสริมให้ผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวม (Enterprise Risk Management: ERM) เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการจัดทำการทดสอบภาวะวิกฤต ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของ ERM ช่วยให้บริษัทสามารถพัฒนา ประเมินกลยุทธ์และบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงแผนการบริหารเงินกองทุน 5

  6. กรอบการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันชีวิตกรอบการทดสอบภาวะวิกฤตสำหรับบริษัทประกันชีวิต

  7. สรุปผลการทดสอบ QIS 1 • สถานการณ์การทดสอบภาวะวิกฤตทั้ง 3 สถานการณ์ส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนในระดับที่แตกต่างกัน • สถานการณ์ Financial crisis ส่งผลกระทบต่อบริษัทมากที่สุด โดยทำให้ค่า CAR เฉลี่ย ลดลง 132% CAR เฉลี่ย ณ สิ้นปี 2555 352% ผลกระทบของแต่ละ Prescribed Scenario ต่ออุตสาหกรรม

  8. แนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตของธุรกิจประกันวินาศภัยแนวทางการทดสอบภาวะวิกฤตของธุรกิจประกันวินาศภัย

  9. RBC 2

  10. วัตถุประสงค์ของ RBC 2 เพิ่มเติมการกำกับเงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงที่ยังไม่ได้กำหนด ได้แก่ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง และความเสี่ยงภายในกลุ่ม บูรณาการกระบวนการบริหารความเสี่ยง เช่น การใช้เครื่องมือทางการเงินในการลดหรือป้องกันความเสี่ยง (Hedging) เป็นต้น ทบทวน และพัฒนาหลักการกำหนดเงินกองทุน ค่าพารามิเตอร์สำหรับการกำกับเงินกองทุน และวิธีการประเมินราคาสินทรัพย์และหนี้สินให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

  11. การดำเนินงานของโครงการ RBC 2

  12. การบริหารความเสี่ยง (RM) และการกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG)

  13. วัตถุประสงค์ของ RM และ CG • กำหนดให้บริษัทต้องมีองค์ประกอบในการบริหารจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม • ยกระดับธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของธุรกิจประกันภัย

  14. RM และ CG ในปัจจุบัน

  15. การดำเนินการต่อไป RM และ CG • จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทประกันภัย • การประเมินตนเอง (Self Assessment) เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการบริษัทประกันภัย • ปรับปรุงประกาศมาตรฐานขั้นต่ำในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทประกันภัย

  16. AEC Road Map การขับเคลื่อนธุรกิจประกันภัยสู่อาเซียน 24 มีนาคม 2557

  17. Methodology

  18. หลักการสำคัญเพื่อเตรียมพร้อมรองรับ AEC

  19. 1. บริษัทมั่นคงทางการเงิน มีศักยภาพในการขยายตัว พัฒนาให้ผู้ประกอบการประกันภัยในประเทศ มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ประกอบธุรกิจด้วยความเป็นมืออาชีพ รวมทั้งมีความพร้อมในด้านฐานเงินทุนที่แข็งแกร่ง มีแหล่งทุนเพียงพอ เทคโนโลยีระบบงานและบุคลากร เพื่อเตรียมพร้อมรับการแข่งขัน และการขยายตัวและรับโอนความเสี่ยงจากภาคธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  20. 2. สภาพการแข่งขันที่ดี เอื้อให้เกิดการเติบโต เสริมสร้างสภาพการแข่งขัน ทั้งในจากผู้เล่นที่มีอยู่เดิมในตลาด ด้วยการผ่อนคลายการกำกับเบี้ยประกันภัย และอัตราค่าบำเหน็จ และยกระดับสภาพการแข่งขันด้วยการพิจารณาเปิดรับผู้เล่นรายใหม่ในอนาคต

  21. 3. โครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นและเอื้อต่อการขยายธุรกิจ บริษัทประกันภัยไทยมีความพร้อม สามารถขยายธุรกิจไปในต่างประเทศได้ เช่น การจัดตั้งสำนักงานและการเสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยในต่างประเทศ จึงต้องมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ทั้งในด้านกฎหมาย หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งความร่วมมือระหว่างหน่วยงานกำกับดูแลของแต่ละประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้บริษัทสามารถขยายธุรกิจไปในภูมิภาค ASEAN ได้

  22. THANK YOU

More Related