1 / 12

ศาล กับ การใช้อำนาจอธิปไตยเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ

ศาล กับ การใช้อำนาจอธิปไตยเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ. ศาลรัฐธรรมนูญ. โครงสร้าง – ประธาน 1 องค์คณะ 8 ฎีกา 3 ปกครอง 2 นิติศาสตร์ 2 รัฐศาสตร์ 2 สรรหาโดยวุฒิสภาเป็นผู้รับรอง วาระ 9 ปี วาระเดียว อำนาจหน้าที่ – วินิจฉัยคดีความไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ - คดีที่มีการวินิจฉัยถึงการละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญ

Download Presentation

ศาล กับ การใช้อำนาจอธิปไตยเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศาล กับ การใช้อำนาจอธิปไตยเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ

  2. ศาลรัฐธรรมนูญ • โครงสร้าง – ประธาน1 องค์คณะ8 ฎีกา3 ปกครอง2 นิติศาสตร์2 รัฐศาสตร์2 สรรหาโดยวุฒิสภาเป็นผู้รับรอง วาระ9ปี วาระเดียว • อำนาจหน้าที่ – วินิจฉัยคดีความไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ - คดีที่มีการวินิจฉัยถึงการละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญ - การออกกฎหมาย หรือกฎระเบียบ ขัดต่อรัฐธรรมนูญ - การวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญต่างๆ ที่ขัดกัน - คำพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันทุกองค์กรอย่างเด็ดขาด ต้องปฏิบัติตาม

  3. การร้องเรียน กระบวนการวินิจฉัยเยียวยา • ผู้ที่สามารถร้องเรียนได้ – ศาล ประธานสภาต่างๆ สมาชิกสภา นายก อัยการสูงสุด ปปช. กกต. ผู้ตรวจการฯ กสม. นายทะเบียน/ผู้จดพรรคฯ • กระบวนการวินิจฉัย – คดีการกระทำที่ขัดหรือไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ - ประชาชนต้องร้องผ่านกระบวนการข้างต้นเพื่อนำคดีสู่ศาลหากใช้หมดแล้วยังไม่ได้ ประชาชนอาจยื่นได้เอง - ศาลประทับรับฟ้อง/ไม่รับต้องให้เหตุผล วางวิธีการคุ้มครองชั่วคราว - สืบพยาน หลักฐานในระบบไต่สวน และทำคำพิพากษาส่วนตัว/รวม - คำพิพากษาผูกพันทุกองค์กรเด็ดขาด อุทธรณ์ไม่ได้ ไม่กระทบคดีอื่น

  4. กรณีการทำหน้าที่ของ กกต.(เลือกตั้ง ๒ เมษายน ๒๕๔๙) • กกต. ถูกร้องเรียนว่าจัดการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ • รัฐบาลยุบสภานอกสมัยประชุมและหารือ กกต.เพื่อออก พรฎ.ให้มีเลือกตั้งหลังยุบสภา 35 วัน หันคูหาออกทำให้มองเห็น เพิกเฉยต่อพฤติกรรมพรรคใหญ่จ้างพรรคเล็กลงสมัคร รับรองผลการเลือกตั้งโดยไม่ปรึกษาหารือ/ไม่รับฟังองค์กรที่เกี่ยวข้อง (มีเพิ่มประเด็นปชป.ล่อซื้อ) • ศาลตัดสิน – อำนาจในการยุบสภาเป็นของฝ่ายบริหารไม่อยู่ในดุลยพินิจศาล การประกาศ พรฎ.และจัดเลือกตั้งอยู่ในอำนาจศาล การประกาศไม่เป็นธรรมไม่ชอบด้วย รธน. การเลือกตั้งไม่ลับไม่ชอบด้วย รธน. การจัดการเลือกตั้งของ กกต.จึงไม่ชอบ ต้องจัดการเลือกตั้งใหม่

  5. กรณีระเบียบและการกระทำของ กต. เลือกประติบัติ • กต. มี พรบ.ระเบียบข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม และการบังคับใช้ที่ทำให้ผู้ที่ร่างกายพิการ(โปลิโอ) ขาดคุณสมบัติในการเป็นผู้พิพากษา • โดยร้องว่า ข้อความใน พรบ. “มีกาย...ไม่เหมาะสมที่จะเป็นข้าราชการตุลาการ” มีลักษณะเลือกประติบัติต่อผู้พิการ ไม่เสมอภาคกับคนปกติ ขัดกับ ม.30 ความเสมอภาคของบุคคลภายใต้รัฐธรรมนูญ • ศาลวินิจฉัย – คุณสมบัติดังกล่าวไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญ เนื่องจากเข้าข้อยกเว้น ม.29 ว่าด้วยเรื่องการจำกัดสิทธิที่ไม่กระทบกระเทือนต่อสาระสำคัญแห่งสิทธิเสรีภาพเนื่องจาก ออกเป็น พรบ. บังคับใช้ทั่วไปไม่เฉพาะเจาะจงกับบุคคลใด หรือกรณีใด - ผู้ตรวจร้องให้ปรับกฎ

  6. กรณี พรบ.ชื่อบุคคล บังคับให้สตรีเปลี่ยนนามสกุลตามสามี • มีผู้ร้องว่า พรบ.ชื่อบุคคล ม.12 กำหนด “หญิงมีสามีให้ชื่อสกุลตามสามี” ขัดกับ ม.30 แห่ง รธน.ว่าด้วยความเสมอภาคทางเพศสภาพ • ศาลวินิจฉัย – บทบัญญัติข้างต้นขัดกับรัฐธรรมนูญ ม.30 จริง เกิดความไม่เสมอภาคทางกฎหมาย เลือกประติบัติต่อสตรี มาตราดังกล่าวของพรบ.ชื่อบุคคล จึงไม่อาจบังคับได้อีกต่อไปโดยผลของรัฐธรรมนูญ • ผลของคำวินิจฉัย นำไปสู่การปรับปรุง พรบ.ชื่อบุคคลในปี 2548 โดยคู่สมรสอาจตกลงใช้นามสกุลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือต่างใช้สกุลเดิม เมื่อหย่าหรือศาลเพิกถอนสมรสให้กลับไปใช้สกุลเดิม หากคู่สมรสตายให้กลับไปใช้สกุลเดิมหรือสกุลของคู่สมรสเมื่อแต่งงานใหม่

  7. ศาลปกครอง • โครงสร้าง – ประธานองค์คณะวาระ แล้วแต่คณะกรรมการตุลาการศาลฯ สอบเข้าและระบบคุณวุฒิ มีสองชั้น ชั้นต้น17 สูงสุด1เพิ่มได้ • อำนาจหน้าที่ – วินิจฉัยคดีความไม่ชอบด้วยกฎหมาย(ปกครอง) - คดีที่มีการวินิจฉัยถึงการละเมิดสิทธิตามกฎหมายโดยรัฐ/รัฐวิสาหกิจ - การออกกฎหมาย หรือกฎระเบียบ ขัดต่อรัฐธรรมนูญ/กฎหมายอื่น - การวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ สัญญาของรัฐ - คำพิพากษาของศาลปกครองมีผลผูกพันทุกองค์กรอย่างเด็ดขาด ต้องปฏิบัติตาม มีการอุทธรณ์สูงศาลปกครองสูงสุดได้

  8. การร้องเรียน กระบวนการวินิจฉัยเยียวยา • ผู้ที่สามารถร้องเรียนได้ – ศาล ประธานสภาต่างๆ สมาชิกสภา นายก อัยการ ปปช. กกต. ผู้ตรวจการฯ กสม. ประชาชนยื่นโดยตรง • กระบวนการวินิจฉัย – คดีการกระทำที่ขัดหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย - ประชาชนอาจร้องผ่านกระบวนการข้างต้นเพื่อนำคดีสู่ศาลหากใช้หมดแล้วยังไม่ได้ ประชาชนอาจริเริ่มยื่นเรื่องต่อศาลปกครองได้เอง - ศาลประทับรับฟ้อง/ไม่รับต้องให้เหตุผล วางวิธีการคุ้มครองชั่วคราว - สืบพยาน หลักฐานในระบบไต่สวน และทำคำพิพากษาส่วนตัว/รวม - คำพิพากษาผูกพันทุกองค์กรเด็ดขาด อุทธรณ์ได้ ไม่กระทบคดีอื่น

  9. กรณีการถอนสัญชาติ อ.แม่อาย • กรมการปกครองถอนสัญชาติโดยจำหน่ายบัญชีทะเบียนออกจากระบบ • เจ้าหน้าที่ปกครอง ตำรวจ เข้าจับกุม ชาวบ้าน อ.แม่อาย • ฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้นเชียงใหม่ • ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า การกระทำทางปกครองไม่ชอบด้วยกฎหมาย • ศาลชั้นต้นสั่งให้คืนสัญชาติ และมีการจัดทำทะเบียนบ้านบัตรประชาชน • ศาลปกครองสูงสุด พิพากษาให้การกระทำทางปกครองไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องคืนสถานะคืนแก่ประชาชน • เหตุผล เป็นการกระทำลิดรอนสิทธิของประชาชนที่กฎหมายรับรอง

  10. การปราบปรามผู้ชุมนุมประท้วงท่อก๊าซ ไทย-มาเลย์ • มีผู้ร้องเรียนผ่าน ผู้ตรวจฯ ว่าฝ่ายรัฐ(รมต.มหาดไทย) สั่งให้ใช้กำลังตำรวจเข้าปราบผู้ชุมนุมประท้วงโครงการท่อก๊าซไทย-มาเลย์ ขัดกับ รธน. ม.44 ว่าด้วยเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ ปราศจากอาวุธ • ศาลปกครองชั้นต้นวินิจฉัยว่าการกระทำของตำรวจชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากมีการใช้ความรุนแรงในการชุมนุมดังกล่าว (ครั้งสมัย สนั่น) • อีกกรณี ร้องผ่าน กสม.ว่าด้วยฝ่ายรัฐ(รมต.มหาดไทย) สั่งให้ใช้กำลังตำรวจเข้าปราบผู้ชุมนุมประท้วงโครงการท่อก๊าซไทย-มาเลย์ (ทักษิณ) • ศาลปกครองวินิจฉัยว่ารัฐใช้อำนาจโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากไม่พบการใช้ความรุนแรงในการประท้วง และไม่พบอาวุธ

  11. กรณีการแปรรูปการไฟฟ้าฝ่ายผลิตกรณีการแปรรูปการไฟฟ้าฝ่ายผลิต • มีผู้ร้องว่าการแปรรูปการไฟฟ้าฝ่ายผลิตไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจาก พรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ ให้โอนอำนาจรัฐบางอย่างไปให้บริษัทการไฟฟ้าฝ่ายผลิตด้วย (การเวนคืนที่ดิน การเข้าจัดทำโครงข่ายพื้นฐานในที่รัฐ) • ศาลปกครองกลางวินิจฉัย – การแปรรูปการไฟฟ้าฝ่ายผลิตนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากรัฐธรรมนูญได้กำหนดว่า กรรมสิทธิ์ในที่ดินของประชาชนได้รับการคุ้มครองรัฐจะล่วงล้ำได้ก็ต่อเมื่อรัฐใช้อำนาจตาม พรบ. ในการเวนคืนเพื่อจัดทำบริการสาธารณะ การโอนอำนาจซึ่งแต่เดิมเป็นของภาครัฐไปให้กับภาคเอกชน ถือเป็นการกระทำที่ไม่ชอบ • ผลของคำวินิจฉัย ทำให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตต้องระงับการเข้าตลาดหุ้น

  12. ข้อสังเกตต่อบทบาทศาลต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนข้อสังเกตต่อบทบาทศาลต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน • รธน.2550 ทำให้การเข้าสู่ศาลง่ายขึ้น โดยเฉพาะประชาชน • ศาลมีบทบาทในการแก้ไขข้อยัดแย้งทางการเมืองมากขึ้น อาจมีผลต่อความเป็นอิสระของศาล โดยเฉพาะกรณีศาลรัฐธรรมนูญซึ่งการเมืองตั้ง • ศาลรัฐธรรมนูญเดิมมีปัญหาเรื่องการวินิจฉัยคดีว่าถูกต้องหรือไม่ ในหลายๆคดี ปรากฏการใช้ดุลยพินิจที่อาจขัดต่อหลักกฎหมาย • กระบวนการรับคดีของศาลรัฐธรรมนูญ/ศาลปกครองค่อนข้างรวดเร็ว แต่ระหว่างคดีพิจารณาจะกินเวลามาก/การบังคับใช้มาตรการชั่วคราวเร็ว • คดีในศาลปกครองค่อนข้างเป็นธรรม(ตาม กม.) ศาลรัฐธรรมนูญ?

More Related