1 / 166

การประกันคุณภาพ การอาชีวศึกษา

การประกันคุณภาพ การอาชีวศึกษา. ดร. สิริรักษ์ รัชชุศานติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2542 มาตรา 2 การบังคับใช้ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542. ปรับปรุง พ.ศ. 2545. หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ ทางการศึกษา. หมวด 1

Download Presentation

การประกันคุณภาพ การอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประกันคุณภาพการอาชีวศึกษาการประกันคุณภาพการอาชีวศึกษา ดร. สิริรักษ์ รัชชุศานติ

  2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2542 มาตรา 2 การบังคับใช้ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ปรับปรุง พ.ศ. 2545

  3. หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ ทางการศึกษา หมวด 1 บททั่วไป หมวด 3 ระบบการศึกษา หมวด 4 แนวการจัดการ ผู้เรียน สำคัญที่สุด หมวด 9 เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา หมวด 5 การบริหารและ การจัดการศึกษา หมวด 6 มาตรฐานและ การประกันคุณภาพ หมวด 8 ทรัพยากรและ การลงทุน หมวด 7 ครูอาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา

  4. มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 48 ระบบประกันคุณภาพภายใน มาตรา 49 องค์กรในการประเมินภายนอก มาตรา 50 การให้ความร่วมมือในการ ประเมินภายนอก มาตรา 51 การเสนอผลการประเมินภายนอก

  5. การจัดการอาชีวศึกษา ระดับกึ่งฝีมือ ฝีมือ เทคนิค และเทคโนโลยี * ทักษะพื้นฐาน * ทักษะวิชาชีพ * ทักษะชีวิต ความร่วมมือกับสถานประกอบการ ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ และ ประกอบอาชีพอิสระ

  6. การจัดการอาชีวศึกษา * ในระบบ * ระบบทวิภาคี * ระบบเทียบประสบการณ์

  7. ร่าง พ.ร.บ. การอาชีวศึกษา พ.ศ……. มาตรฐานและคุณภาพการอาชีวศึกษา * คณะกรรมการมาตรฐานการอาชีวศึกษา * มาตรฐานการอาชีวศึกษา * มาตรฐานวิชาชีพ * มาตรฐานอาชีพ

  8. ผลประโยชน์สุดท้ายที่แท้จริงก็คือ • คุณภาพของผู้เรียน มีมาตรฐาน • ลูกค้าพึงพอใจ

  9. คุณภาพและมาตรฐาน ของการอาชีวศึกษา

  10. มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard : OS) มาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Standard : VS) มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Institutional Standard : IS)

  11. มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard : OS) * องค์กรทางวิชาชีพเป็นผู้กำหนด *สมรรถนะ (Competence) * กรอบในการพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพ * เทคนิค Functional Analysis

  12. มาตรฐานอาชีพ(OS) สมรรถนะงานหลัก (Unit of Competence) สมรรถนะงานย่อย (Element of competence) สมรรถนะงานย่อย (Element of competence) เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ความรู้ที่ต้องใช้ (Knowledge) ขอบเขตของงาน (Range) ผลงานที่เป็นรูปธรรม (Evidence Requirement )

  13. มาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Standard : VS) • ข้อกำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้จบการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ ในแต่ละระดับการศึกษา • กรอบในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบประเมินผล และประกันคุณภาพของผู้เรียน/ผู้จบการศึกษา

  14. มาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Standard : VS) • พิจารณาจากมาตรฐานอาชีพ วิเคราะห์อาชีพ(Job Analysis) • พัฒนาหลักสูตร • จัดการเรียนการสอน • สมรรถนะ

  15. มาตรฐานวิชาชีพ(VS) ความรู้ ทักษะพื้นฐาน (Basic skill) ทักษะชีวิต (Life skill) มาตรฐานอาชีพ (OS) ทักษะ ความรู้ กิจนิสัย

  16. มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Institutional Standard : IS) • ข้อกำหนดในการจัดการอาชีวศึกษา • เกณฑ์ในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา

  17. การพัฒนา ทักษะพื้นฐาน วิชาชีพ ชีวิต จัดการเรียนรู้ ประสบการณ์จริง ประเมินตามสภาพจริง หลักสูตร คุณภาพของผู้สำเร็จ การศึกษา ผู้สอนและ บุคลากร ระบบบริหาร จัดการ ระดมทรัพยากร ระบบเครือข่าย ระบบความร่วมมือ จัดสภาพแวดล้อม วัสดุ อุปกรณ์ บริการทางวิชาชีพ

  18. ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐานอาชีพ(OS) มาตรฐานวิชาชีพ(VS)และมาตรฐานการอาชีวศึกษา(IS) มาตรฐานการอาชีวศึกษา (IS) มาตรฐานอาชีพ (OS) มาตรฐานวิชาชีพ (VS)

  19. คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification : VQ ) • คุณวุฒิเกี่ยวกับสมรรถนะในการทำงาน • กำหนดจากมาตรฐานอาชีพ • ผู้ที่ผ่านการศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย • ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ยังไม่ได้รับคุณวุฒิทางการศึกษา ใช้ระบบเทียบโอนคุณวุฒิและประสบการณ์

  20. คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification : VQ ) VQ1 ใช้ทักษะพื้นฐาน VQ2 งานเฉพาะทาง ทักษะปานกลาง VQ3 ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค หัวหน้างาน VQ4 การจัดการทางเทคนิค ระดับบริหาร VQ5 การจัดการระดับผู้เชี่ยวชาญและระดับอาวุโส V

  21. คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(General Vocational Qualification : GVQ ) *คุณวุฒิที่จัดให้แก่ผู้เรียนที่ผ่านการศึกษา วิชาชีพ และสำเร็จการศึกษา ตามเกณฑ์ การจบหลักสูตรในแต่ละระดับ ปวช. ปวส. ปริญญา * กำหนดจากมาตรฐานวิชาชีพ

  22. การเทียบโอนประสบการณ์อาชีพ สู่การศึกษาวิชาชีพ VQ 5 ปริญญาสาย เทคโนโลยี VQ 4 เทียบโอน ประสบการณ์ ปวส. VQ 3 ปวช. VQ 2 ระยะสั้น. VQ 1 คุณวุฒิวิชาชีพ(VQ) คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(GVQ)

  23. ความสัมพันธ์ระหว่าง OSVS ISVQ และ GVQ มาตรฐานอาชีพ (OS) มาตรฐานการอาชีวศึกษา (IS) มาตรฐานวิชาชีพ (VS) คุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) RPL คุณวุฒิการ ศึกษาวิชาชีพ (GVQ)

  24. การประกันคุณภาพอาชีวศึกษาการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา สร้างความมั่นใจว่าคุณภาพของผู้สำเร็จ การศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการ อาชีวศึกษา ตรงกับความต้องการ ของนักศึกษา ผู้ปกครอง ตลาดแรงงาน และสังคม

  25. ระบบประกันคุณภาพ มาตรฐานการอาชีวศึกษา แผนการพัฒนาคุณภาพTQM QC 5ส การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบคุณภาพ (Internal Audit) กำกับ ดูแล ติดตาม และ ประเมินตนเอง การประเมินคุณภาพ (Quality Assesment) หน่วยงานต้นสังกัด การประเมินภายนอก

  26. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา • การดำเนินงานอย่างมีเป้าหมาย และแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน • กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินตนเอง เพื่อตรวจสอบในสิ่งที่สถานศึกษาได้วางแผนไว้ในแต่ละปี • จุดมุ่งหมายที่สำคัญ….สถานศึกษาจะได้มีการพัฒนา • ปรับปรุงให้เป็นไปตามเป้าหมาย • กระบวนการดำเนินงาน P D C A (Plan – Do – Check • – Act)

  27. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา • จัดระบบบริหารและสารสนเทศ • มาตรฐานการอาชีวศึกษา • แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา • ดำเนินงานตามแผน • ตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพ • ประเมินคุณภาพ • รายงานคุณภาพ • ผดุงระบบประกันคุณภาพ

  28. ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายใน รายงานการประเมินตนเอง (SSR-SAR) การปฏิบัติงานของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพ ภายนอก ข้อมูลย้อนกลับ

  29. การประเมินคุณภาพภายในการประเมินคุณภาพภายใน มุ่งเน้นเพื่อ การพัฒนา สถานศึกษา

  30. ระบบการประกัน คุณภาพภายใน การควบคุม คุณภาพ PLAN (P) วางแผน ACTION (A) ปรับปรุง แก้ไข DO (D) ลงมือปฏิบัติ การตรวจสอบ คุณภาพ CHECK (C) ตรวจสอบ

  31. การเตรียมการ • เตรียมความพร้อมของบุคลากร • ตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ

  32. ให้ความรู้ • ตั้งกรรมการ • วิเคราะห์องค์กร • วิเคราะห์มาตรฐาน • การอาชีวศึกษา • จัดทำธรรมนูญ / แผน พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา • แผนปฏิบัติการประจำปี • แผนงบประมาณ การวางแผน ( PLAN )

  33. .ทำตามแผน • ส่งเสริม สนับสนุน • จัดสิ่งอำนวยความ สะดวก • กำกับ ดูแล ติดตาม • นิเทศ ปฏิบัติ ( DO) SIRIRAK:SUPERVISOR:14/3/44

  34. ออกแบบการประเมินตาม มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ • สร้างเครื่องมือ • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • เขียนรายงานประเมิน • มาตรฐานเพื่อพัฒนาปรับปรุง • วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งตาม มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ตรวจสอบ ( Cheek ) SIRIRAK:SUPERVISOR:14/3/44 SIRIRAK:SUPERVISOR:14/3/44

  35. เขียนรายงานการประเมินตนเองเขียนรายงานการประเมินตนเอง SIRIRAK:SUPERVISOR:14/3/44 • แก้ไขข้อบกพร่อง • ปรับปรุงงาน • ปรับแผน ปรับปรุง แก้ไข (Action)

  36. การปฏิบัติงานในสถานศึกษาการปฏิบัติงานในสถานศึกษา การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 1. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา 2. กำหนดมาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้คุณภาพและเกณฑ์ การประเมิน 3. จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน 4. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา 5. กำหนดบทบาท/มอบหมายหน้าที่/ประชุมชี้แจงบุคลากร ให้เข้าใจแนวปฏิบัติแต่ละงานและระบบการประกันคุณภาพ

  37. การประเมินตนเองของสถานศึกษาการประเมินตนเองของสถานศึกษา การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing) 1. จัดตั้งคณะกรรมการการประเมินภายในสถานศึกษา 2. จัดทำคู่มือนโยบายประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3. จัดทำคู่มือประเมินมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ 4. จัดทำแผนกำกับติดตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ 5. กำหนดบทบาท/มอบหมายหน้าที่/ประชุมชี้แจงบุคลากรให้เข้าใจแนวปฏิบัติตามคู่มือนโยบาย คู่มือประเมินมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ และ แผนกำกับติดตาม

  38. รายงานการประเมินตนเอง(SSR)รายงานการประเมินตนเอง(SSR) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) การจัดทำรายงานประจำปี (SAR) 1. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา - ประวัติ/ที่ตั้ง - หลักสูตร/การจัดการเรียนการสอน - โครงสร้างการบริหาร - ผู้บริหาร/บุคลากร - นักเรียน/ผู้ปกครอง - อาคารสถานที่ / งบประมาณ 2. วิสัยทัศน์ 3. แผนงานของสถานศึกษา 4. สรุปผลการประเมิน ตามมาตรฐาน 5. ภาคผนวก

  39. ผู้รับผิดชอบในสถานศึกษาผู้รับผิดชอบในสถานศึกษา * คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา * งานประกันคุณภาพการศึกษา * ทุกคน

  40. งานที่ฝ่ายบริหารต้องทำงานที่ฝ่ายบริหารต้องทำ • ตั้งคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา • กำหนดมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ • ทำแผนพัฒนาสถานศึกษา • ทำแผนปฏิบัติงานประจำปี ปฏิบัติงานประจำปีตามแผน ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีตามแผน

  41. งานประกันคุณภาพการศึกษางานประกันคุณภาพการศึกษา ตั้งสำนักงานประกัน ฯ • .ตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน • มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ • คู่มือนโยบาย • คู่มือประเมินมาตรฐาน • คู่มือกำกับติดตาม • รายงานการประเมินตนเอง (SSR)

  42. มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Institutional Standard : IS) • ข้อกำหนดในการจัดการอาชีวศึกษา • เกณฑ์ในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพการ จัดการอาชีวศึกษา • ระบบ K P I ( Key Performance Indicator) • 12 มาตรฐาน 54 ตัวบ่งชี้

  43. ตัวบ่งชี้ สิ่งที่กำหนดความสำเร็จ * ปริมาณ * คุณภาพ

  44. มาตรฐานที่ 1 ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้เชิงวิชาการ มีทักษะในวิชาชีพ และทักษะชีวิต อันส่งผลต่อการประกอบอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ 4 ตัวบ่งชี้

  45. มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีการพัฒนาความรู้ ในทักษะพื้นฐาน ทักษะในการปฏิบัติงาน และพัฒนาตนเอง ในวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม 5 ตัวบ่งชี้

  46. มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีความรักในอาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 5 ตัวบ่งชี้

  47. มาตรฐานที่ 4 สถานศึกษามีการระดมทรัพยากร จัดระบบเครือข่ายในการจัดการอาชีวศึกษารวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือกับสถานประกอบการ ชุมชุน แหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 5 ตัวบ่งชี้

  48. มาตรฐานที่ 5 สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เน้นการฝึกปฏิบัติจริง เรียนรู้จากประสบการณ์จริง และมีการประเมินผลตามสภาพจริง 5 ตัวบ่งชี้

  49. มาตรฐานที่ 6 สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรวจสอบได้ และเน้นการมีส่วนร่วม 5 ตัวบ่งชี้

  50. มาตรฐานที่ 7 สถานศึกษามีการส่งเสริมการทำงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ เผยแพร่ สู่สาธารณชน และนำไปพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ 4 ตัวบ่งชี้

More Related