1 / 39

ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน

กระบวนทัศน์และคุณลักษณะ ข้าราชการยุคใหม่. 4 กรกฎาคม 2551. ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน. วัตถุประสงค์. เพื่อให้ : ตระหนักความสำคัญของ การปรับเปลี่ยนภาครัฐและสร้างความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ วิเคราะห์สมรรถนะของข้าราชการยุคใหม่ แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง.

Download Presentation

ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนทัศน์และคุณลักษณะกระบวนทัศน์และคุณลักษณะ ข้าราชการยุคใหม่ 4 กรกฎาคม 2551 ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้: • ตระหนักความสำคัญของการปรับเปลี่ยนภาครัฐและสร้างความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง • คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ • วิเคราะห์สมรรถนะของข้าราชการยุคใหม่ • แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง

  3. ประเด็นสำคัญ 1. ความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนการบริหาร ภาครัฐ 2. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม และข้าราชการ 3. แนวคิดให้การบริหารจัดการภาครัฐแนว ใหม่ 4. สมรรถนะและคุณลักษณะของข้าราชการ ยุคใหม่

  4. การปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ รวดเร็ว การสื่อสาร ระบบเครือข่าย การตรวจสอบจากภายนอก ราชการ การแข่งขัน ระบบข้อมูลสารสนเทศ กระจายอำนาจ

  5. การปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ประเทศ โลกไร้พรมแดน การแข่งขันภายนอก เทคโนโลยี

  6. สภาพปัญหาวัฒนธรรมและค่านิยมสภาพปัญหาวัฒนธรรมและค่านิยม ทัศนคติและค่านิยมที่ไม่เกื้อหนุนกับ ระบบราชการปัจจุบัน การทุจริตและประพฤติมิชอบ เกียรติภูมิและศักดิ์ศรีที่ต่ำลง ระบบคุณธรรมถูกแทรกแซง

  7. ร่าง ความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ 4

  8. หลักการ 5

  9. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง • ผลกระทบต่อข้าราชการ • ผลกระทบต่อองค์กร • ผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม • ต่อประเทศชาติ • มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

  10. ความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การทำงานเชิงรุก การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การปรับวัฒนธรรมและค่านิยม การทำงานเป็นทีม

  11. ธรรมาภิบาล: Good Governance การบริหารจัดการเป็นลักษณะ หรือวิถีทางของการ ใช้อำนาจรัฐ ในการจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศการพัฒนา (จากธนาคารโลก)

  12. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • วัตถุประสงค์ • เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภาครัฐ(RESULT) • ความคุ้มค่า • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • ลดภารกิจและยุบเลิกงานที่ไม่จำเป็นให้ทันต่อสถานการณ์ • กระจายอำนาจ/ภารกิจ/ทรัพยากรให้ท้องถิ่น • มีผู้รับผิดชอบต่อผลงานที่เกิดขึ้น • การจัดสรรงบและบรรจุบุคคลที่ตรงกับงาน • ใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  13. ธรรมาภิบาล 6 ประการ คุณธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ รับผิด ชอบ คุ้มค่า โปร่งใส นิติธรรม

  14. มิติของธรรมาภิบาล * ด้าน การเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการบริหารจัดการ * * *

  15. หลักการของธรรมาภิบาล 1. การมีส่วนร่วม (Public Participation) 2. ความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. การบริหารพื้นฐานต่อสังคม (Accountability) 4. การมีกลไกที่ชอบทางการเมือง จุดเน้น

  16. 5. ระบบระเบียบมีความเป็นธรรม เท่าเทียมในการปฏิบัติ 6. การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  17. วัตถุประสงค์ของธรรมาภิบาล . 1.เกิดบูรณาการฤ 3 อย่างคือภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม(Integration) 2.ปรับตัวไปสู่ความทันสมัย โลกาภิวัตน์(Adaptation & Modernization) 3.เกิดประโยชน์สูงสุด ความพึงพอใจ ร่วมกัน(Utilization)

  18. * * 4.เกิดความเท่าเทียมกัน สนับสนุนการมี ส่วนร่วม(Equalization & Participation) 5.มีการแข่งขัน เกิดความยุติธรรม ลดการ เอาเปรียบการผูกขาด(Contestation & Justice)

  19. ยุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดียุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมาภิบาล ให้กับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ รวมทั้งองค์กร ภาคเอกชนและประชาชน 2. วางระบบบริหารการดำเนินการตามหลัก ธรรมาภิบาล 3. สร้างระบบธรรามาภิบาลในองค์กรกลยุทธ์หลัก 4. สร้างเครือข่าย ขยายผลดำเนินการกลยุทธ์

  20. วัฒนธรรมองค์การ Culture มาจากรากศัพท์ ลาตินว่า Culturala แปลว่า เพาะปลูกในทางสังคมวิทยา วัฒนธรรมหมายถึง แบบอย่างพฤติกรรมที่บุคคลเรียนรู้มาทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ์ และมีองค์ประกอบย่อย 4 องค์ประกอบ 1 ทัศนคติ/เจตคติ : Attitude 2 ความเชื่อ: Belief 3 ค่านิยม/คุณค่า : Value 4 สิ่งประดิษฐ์ขึ้น:Artifact

  21. 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation ) 2. บริการที่ดี (Service Mind) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 4. จริยธรรม (Integrity) 5. ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork ) สมรรถนะหลัก (Core Competency) คุณสมบัติที่ต้องมี Hay Group

  22. หมายถึง สิ่งที่บุคคลเห็นว่าเป็นสิ่งที่มีค่า ยึดถือและใช้เป็นเครื่องช่วยตัดสินใจและกำหนดการกระทำของตนเอง ค่านิยม(Value)

  23. ค่านิยมสร้างสรรค์ของข้าราชการ 5 ประการ กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ โปร่งใสตรวจสอบได้ ไม่เลือกปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

  24. ปัญญา ขยัน ซื่อสัตย์ มนุษย์สัมพันธ์ จริยธรรม 4 ประการ

  25. จรรยาบรรณจะบรรลุ เมื่อ... ยึดถือปฏิบัติเป็นวิถีชีวิต(commitment as way of life) เข้าถึงเจตนารมณ์ความมุ่งหมายที่แท้จริง(internalize) มีความรู้ความเข้าใจ (understanding)

  26. ความหมาย ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่าง กำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ จรรยาบรรณ

  27. ต่อตนเอง มีศีลธรรมอันดี และประพฤติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ ใช้วิชาชีพในการปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ และไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ มีทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่ราชการและพัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม ต่อหน่วยงาน จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน • ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความสุจริต เสมอภาค ปราศจากอคติ • ปฏิบัติหน้าที่ราชการเต็มกำลังความสามารถ รวดเร็ว ขยันหมั่นเพียร ถูกต้อง สมเหตุสมผล • ตรงต่อเวลา ใช้เวลาราชการให้เป็นประโยชน์ต่อทางราชการอย่างเต็มที่ • ดูแลรักษาและใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างประหยัด คุ้มค่า

  28. ต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาพึงดูแลเอาใจใส่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาในด้านการปฏิบัติงาน ขวัญ กำลังใจ สวัสดิการ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทางที่ชอบ ปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานด้วยความสุภาพ มีน้ำใจ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ละเว้นการนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน จรรยาบรรณข้าราชการพลเรือน

  29. ต่อสังคม • ให้ความเป็นธรรม เอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ สุภาพ อ่อนโยน • ประพฤติตนให้เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไป • ละเว้นการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีมูลค่าเกินปกติวิสัยที่วิญญูชนจะให้กันโดยเสน่หา จากผู้มาติดต่อราชการหรือผู้ซึ่งอาจได้รับประโยชน์ จากการปฏิบัติหน้าที่ราชการนั้น

  30. คอรัปชั่น: พฤติกรรมที่ไม่ทำตามกฎหมาย หรือทำมากกว่า ทำน้อยกว่า/ใช้วิธีการผิด ผลประโยชน์ขัดกัน: แยกไม่ออกว่าระหว่างส่วนตัว และส่วนรวม ผิดวินัย: แย้งหรือสวนทางกบปทัสถานทางกฎหมายหรือพันธะทางสังคม ผิดวิชาชีพ: ขัดแย้งกับองค์ประกอบของวิชาชีพนิยมตามเกณฑ์ของวิชาชีพ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์

  31. หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด ธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2544 ๑. การรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใดจาก: ๑.๑ ญาติ รับได้ตามจำนวนที่เหมาะสมตามฐานานุรูป ๑.๒ บุคคลอื่น รับได้ต้องมีมูลค่าไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท ๒. หากรับทรัพย์สินมีมูลค่าเกิน ๓,๐๐๐ บาท รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ๓. ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุญาตให้ผู้รับเก็บไว้เป็น สิทธิหรือ ส่งมอบให้หน่วยงานของรัฐ หรือ ส่งคืนผู้ให้

  32. ภาพลักษณ์ของข้าราชการภาพลักษณ์ของข้าราชการ คุณลักษณะของข้าราชการยุคใหม่ 6 ประการ 1.เหตุผลแก้ปัญหาเชิงจริยธรรม(จริยธรรม) Moral Reasoning 2. ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน Future oriented3. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ Achievement Motivation 4. ความเชื่อในความถูกต้อง Internal Locus of control 5. ทัศนคติที่ดีต่องาน Attitudes and values 6. ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ Emotional Quotient I AM READY คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการ (ก.พ.ร.) 6 ประการ 1. ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี Integrity 2. ขยันตั้งใจทำงาน Active3. มีศีลธรรม คุณธรรม Moral 4. รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก Relevant 5. มุ่งเน้นประสิทธิภาพ Efficiency 6. รับผิดชอบต่อผลงาน Accountability 7.เป็นประชาธิปไตย Democracy 8.มุ่งเน้นผลงาน Yield ค่านิยมสร้างสรรค์ 5 ประการ ของสำนักงาน ก.พ. 5ประการ 1. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ซื่อสัตย์รับผิดชอบ 3. โปร่งใสตรวจสอบได้ 4. ไม่เลือกปฏิบัติ 5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

  33. ภาพลักษณ์ของข้าราชการ ศ.ดวงเดือน พันธุมนาวิน พฤติกรรมที่พึงปรารถนา 4 ประการ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา การปฏิบัติราชการอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.ความสามารถในการมองอนาคต3. มีจิตสำนึกในการบริการและมุ่งผล ถึงประชาชน 4. ให้ข้าราชการพลเรือนมีความเป็น นักพัฒนา ลักษณะทางจิตใจของข้าราชการ 5 ประการ 1. เหตุผลเชิงจริยธรรม 2. ลักษณะมุ่งอนาคตและ การควบคุมตน 3.ความเชื่ออำนาจในตนเอง 4. ทัศนคติต่อการทำงานราชการ 5. สุขภาพจิต

  34. กรอบจรรยาบรรณ ครอบคลุม 3 เรื่อง • กฎระเบียบที่ต้องยึดถือปฏิบัติ (Rules) • ผลของงานที่มุ่งคุณภาพ (Results) • ความสัมพันธ์ - เคารพซึ่งกันและกัน, ทำงานเป็นทีม, ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Relationships)

  35. หลักการตัดสินใจเชิงจริยธรรมหลักการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตามทฤษฎีของโคลเบอร์ก หลักการตัดสินใจแบบไทย ระดับที่ ๑ หลักเพื่อประโยชน์ตนเอง (อัตตา) ระดับที่ ๑ ฟังคำสั่งและหลบหลีกการลงโทษทางกาย ระดับที่ ๒ หลักการแสวงหารางวัล ระดับที่ ๒ หลักเพื่อผู้อื่นในวงแคบ ระดับที่ ๓ หลักการทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ระดับที่ ๓ หลักเพื่อประโยชน์สังคมส่วนใหญ่ ระดับที่ ๔ หลักการทำตามหน้าที่ทางสังคม ระดับที่ ๕ หลักการทำตามคำมั่นสัญญา ระดับที่ ๔ หลักอุดมการณ์อันเป็นสากล ระดับที่ ๖ หลักอุดมคติสากล 2005, Ethics Promotion and Information Center ฤ

  36. ยุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดียุทธศาสตร์ฯการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมาภิบาล ให้กับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ รวมทั้งองค์กร ภาคเอกชนและประชาชน 2. วางระบบบริหารการดำเนินการตามหลัก ธรรมาภิบาล 3. สร้างระบบธรรามาภิบาลในองค์กรกลยุทธ์หลัก 4. สร้างเครือข่าย ขยายผลดำเนินการกลยุทธ์

  37. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สมดุล/มั่นคง/ ยั่งยืน จาก ส.พ.ช.

  38. เหลือแต่คนดีๆ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ข้าราชการพลเรือนมี คุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญกำลังใจ ในการปฏิบัติราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ 11

  39. THANKS Office of the Civil Service Commission

More Related