1 / 44

MAth

Easy Mathematic<br>

magam1234
Download Presentation

MAth

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 เวกเตอร์ 3.1 เวกเตอร์ เวกเตอร์ คือ ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เราเขียนส่วนของเส้นตรง แทนขนาดเวกเตอร์และหัวลูกศรแทนทิศทาง B C ABเป็นเวกเตอร์จาก ไป หรือ มีขนาด เป็นเวกเตอร์จาก ไป หรือ มีขนาด CD  u A B  AB u u v CD D C v v A D MTH2103 Unit 3 1

  2. 3.2 การเท่ากันของเวกเตอร์  เมื่อ 1.  u v u v 2. และ มีทิศทางเดียวกัน u v นิยาม เท่ากับ ก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน และมีทิศทางเดียวกัน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ u v  E G B D v u จากรูป หรือ หรือ     u v AB EF CD GH a b b u a v A F H C MTH2103 Unit 3 2

  3. นิยาม นิเสธของ คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน เขียน แทนด้วยสัญลักษณ์ u  B C และ เป็นนิเสธกัน เมื่อ 1. u v u u  u v u 2. และ มีทิศ ทางตรงข้ามกัน u   v v u A D นั่นคือ หรือ และ กับ เป็น นิเสธกัน   v u v u v MTH2103 Unit 3 3

  4. D ตัวอย่าง C จากรูป ด้านขนาน จงเขียนเวกเตอร์ที่ เท่ากับเวกเตอร์ต่อไปนี้ AB BA     เป็นรูปสี่เหลี่ยม ABCD O A B     จงเขียนนิเสธของเวกเตอร์ต่อไปนี้ AB     AD CB     BA AO OA BC DA BO OB AO OA BO OB MTH2103 Unit 3 4

  5. 3.3 การบวกเวกเตอร์ เขียนแทนด้วย w   u v MTH2103 Unit 3 5

  6. เวกเตอร์ศูนย์ คือ เวกเตอร์ที่มีจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดเป็นจุดเดียวกัน เวกเตอร์ ศูนย์จะมีขนาดเท่ากับศูนย์ เขียนแทนด้วย 0 MTH2103 Unit 3 6

  7. ส าหรับการลบเวกเตอร์ เรานิยามด้วยการบวกเวกเตอร์กับนิเสธของเวกเตอร์ ตัวลบ เขียนแทนด้วย โดยที่ u v  u  จากรูป ABCD C      v u v D เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน v B A u เวกเตอร์ที่เป็นผลลบ จะมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด เป็นจุดสิ้นสุดของเวกเตอร์ทั้ง สองที่ก าหนดให้ MTH2103 Unit 3 7

  8. สมบัติของการบวกเวกเตอร์สมบัติของการบวกเวกเตอร์ ก าหนดให้ และ เป็นเวกเตอร์ใด ๆ ในระนาบ 1. เป็นเวกเตอร์ในระนาบ 2. 3. 4. มี เป็นเอกลักษณ์ของการบวก โดยที่ 0 w , u v v  v  (สมบัติปิด) (สมบัติการสลับที่) (สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม) 0 u     u  w u  v v  u       u u v w   0 u u (สมบัติการมีเอกลักษณ์) (สมบัติการมีอินเวอร์ส)   5. 6. มี ถ้า ที่ท าให้ แล้ว v     u   v    w 0  u u u u  u u (สมบัติการบวกด้วยเวกเตอร์ที่เท่ากัน) w MTH2103 Unit 3 8

  9. ตัวอย่าง จากรูป ก าหนด , AF AB u  เป็นรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า และ ABCDEF BC w   , v ข้อใดต่อไปนี้จริง และข้อใดไม่จริง    ___5. BF v u          ___1. AC u w       ___6. AO u v w 1 2 ___2. AD u v w   w u  ___7. BO v 1 2 ___3. AE v w        ___8. 0 AO DO OF OC ___4. FC v u w MTH2103 Unit 3 9

  10. 3.4 การคูณด้วยสเกลาร์ ก าหนดให้ เป็นจ านวนจริง และ เป็น เวกเตอร์ ผลคูณระหว่าง และ จะ เป็นเวกเตอร์ เขียนแทนด้วย a u a u โดยที่ au  2u 2u u 1. 2. ถ้า ถ้า และมีทิศทางเดียวกับ ถ้า แล้ว จะมีขนาดเท่ากับ และมีทิศทางตรงข้ามกับ แล้ว แล้ว a  a  au  au 0 0 0 จะมีขนาดเท่ากับ u a u 3. a  au a u 0 u MTH2103 Unit 3 10

  11. สมบัติของการคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์สมบัติของการคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ ก าหนดให้ และ เป็นเวกเตอร์ใด ๆ ในระนาบ และ เป็นจ านวนจริง 1. เป็นเวกเตอร์ในระนาบ 2. 3.     a u v au av    1 1 u u u   u a v b (สมบัติปิด) (สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม) (สมบัติการแจกแจง) au a bu     b u  ab u    a au bu 4. (สมบัติการมีเอกลักษณ์) MTH2103 Unit 3 11

  12. ทฤษฎีบท ส าหรับ และ ที่ไม่เท่ากับ จะขนานกับ ก็ต่อเมื่อ มีจ านวนจริง ที่ไม่เท่ากับศูนย์ที่ท าให้ u av  a 0 u v u v ทฤษฎีบท ส าหรับ และ ที่ไม่เท่ากับ และ ไม่ขนานกับ ถ้า แล้วจะได้ และ 0 a  0 b    v 0 v au bv u u 0 หมายเหตุ กับ ขนานกัน หมายถึง กับ มีทิศทางเดียวกัน หรือมีทิศ ทางตรงข้ามกันก็ได้ v u u v MTH2103 Unit 3 12

  13. ตัวอย่าง จากรูป เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน มี เป็นจุดกึ่งกลางของเส้น ทแยงมุม ถ้า จงเขียนเวกเตอร์ และ v ABCD AB O และ ในรูป   , u AD v AO BO u BD D C O A B MTH2103 Unit 3 13

  14. 3.5 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในปริภูมิ 2 มิติ y y   4,3 P j x o i x o MTH2103 Unit 3 14

  15. ให้ A A cA A และ b      a   A ai a j a B bi  b j 1 2 1 2 1. 2. 3. 4. 5. ก็ต่อเมื่อ  a  cai ai   1 , P x y  2 2 PP    , b B B   1 1  2 b 2    ca j a j  b i a j 1 1 2 2  1 2   a  y a 2 1 2 2 1 2   ให้ และ  1 x i เป็นจุดสองจุดใด ๆ จะได้ j , P x y  2  1 1 2 2  2  x y 1 1 6. เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ 1 หน่วย เวกเตอร์หนึ่ง หน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ แทนด้วย A 1 A A A   A   u A MTH2103 Unit 3 15

  16. 3.6 ผลคูณภายในของเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ นิยาม ก าหนดให้ และ จะได้ว่า 1 2 A a i a j     B bi b j 1 2 A B    1 1 a b 2 2 a b ในอีกนัยหนึ่ง เราสามารถหาผลคูณสเกลาร์ โดยใช้นิยาม A B   A B   cos เมื่อ เป็นมุมระหว่างเวกเตอร์ และ  B A   ถ้าเวกเตอร์ ท ามุม กับแกน จะได้ว่า A      x cos sin A A i j MTH2103 Unit 3 16

  17. 3.7 โปรเจกชันของเวกเตอร์ โปรเจกชันของเวกเตอร์ บน มีได้ 2 แบบ คือ 1. สเกลาร์โปรเจกชัน A B A  A B B   cos A  2. เวกเตอร์โปรเจกชัน B       A B B B   ProjB A B MTH2103 Unit 3 17

  18. 3.8 การประยุกต์ของเวกเตอร์ในระนาบ   1) ใช้หาสมการเส้นตรง ถ้าเส้นตรงผ่านจุด จะมีสมการ คือ N ai bj   และตั้งฉากกับเวกเตอร์ , P x y 1 1 1         0 a x x b y y 1 1 ข้อสังเกต เวกเตอร์ เสมอ เรียกเวกเตอร์ ว่า Normal Vector N ตั้งฉากกับเส้นตรง เมื่อ        0 ax by c 0, 0 a b N ai bj MTH2103 Unit 3 18

  19.  ax 2) ใช้หาระยะทาง จากจุด ไปยังเส้นตรง    , P x y : 0 L ax by c 1 1 1   by  c  d 1 1 b a 2 2 MTH2103 Unit 3 19

  20. 3.9 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยในปริภูมิ 3 มิติ เวกเตอร์ 1 หน่วยพื้นฐาน คือ เวกเตอร์ที่เริ่มต้นจากจุด O ไปตามแกนพิกัด เป็นระยะทาง 1 หน่วย มีอยู่ด้วยกัน 3 เวกเตอร์ ได้แก่ เริ่มจากจุด O ไปยังจุด (1, 0, 0) เริ่มจากจุด O ไปยังจุด (0, 1, 0) เริ่มจากจุด O ไปยังจุด (0, 0, 1) k i z   j , , P x y z ส าหรับเวกเตอร์ที่เริ่มจากจุด O ไปยัง จุด P(x, y, z) ใด ๆ จะแทนด้วย k j y o i    OP xi yj zk x MTH2103 Unit 3 20

  21. การบวก - ลบเวกเตอร์ ถ้าเราก าหนด เป็นเวกเตอร์ในปริภูมิ เราจะสามารถเขียนได้ว่า A    A ai bj ck       นิยาม ก าหนดให้ และ จะได้ว่า   1 A B a   A ai a j a k B bi b j bk 1 2 3 1 2 3                  A B a b i a b j a b k 1 1 2 2 3 3      b i a b j a b k 1 2 2 3 3 MTH2103 Unit 3 21

  22. เวกเตอร์ระหว่างจุด 2 จุดในปริภูมิ     ก าหนด และ , , , , P x y z P x y z 2P  2 y   1 1 1 1 2 2 2 2 เวกเตอร์ที่เริ่มจากจุด ไปยังจุด จะเขียนแทนด้วย  1 2 2 PP x x i   โดยที่  z k 1P 1 2 PP      y j z 1 1 2 1       ตัวอย่าง ก าหนด จงหา 2,1,8 , , 0,3,5 , 4,3,0 A , B C , AB AC CB BC MTH2103 Unit 3 22

  23. ขนาดของเวกเตอร์ ก าหนด    A ai bj ck ขนาดของเวกเตอร์ แทนด้วย เมื่อ A A    2 2 2 A a b c ตัวอย่าง ก าหนด จงหา และ        4 2 B i j k 3 2 A , i j , k  , A B A B A B MTH2103 Unit 3 23

  24. การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ ก าหนดให้ เป็นสเกลาร์ และ c    A xi yj zk         cA c xi yj zk cxi cyj czk   cA c A 2 A  ตัวอย่าง ก าหนด จงหา    3 2 A i j k    3 A A 1 4 A MTH2103 Unit 3 24

  25. เวกเตอร์ศูนย์ คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับศูนย์ แทนด้วย    0 0 0 0 i j k เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ 1 หน่วย เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ แทนด้วย A 1 A A A   A   u A MTH2103 Unit 3 25

  26. 3.10 ผลคูณภายในของ 2 เวกเตอร์ใน 3 มิติ       นิยาม ก าหนดให้ และ จะได้ว่า A B A ai a j a k B bi b j bk 1 2 3 1 2 3     1 1 ab 2 2 a b 3 3 a b ในอีกนัยหนึ่ง เราสามารถหาผลคูณสเกลาร์ โดยใช้นิยาม A B   A B   cos  เมื่อ เป็นมุมระหว่างเวกเตอร์ และ A B MTH2103 Unit 3 26

  27. คุณสมบัติของผลคูณสเกลาร์คุณสมบัติของผลคูณสเกลาร์               i i   j j   k k   1 1   j k   i k   2 0 i j 2   A A   3 0 A A   A B   4 0 A B A B   B A  5        A cB    6 cA B c A B    A B C    A B   A C  7         A C   B C  A B C     A B C D MTH2103 Unit 3 27

  28. 3.11 ทิศทางของเวกเตอร์ y u a   ai bj   cos  a b 2 2 b    cos   x a b 2 2 o MTH2103 Unit 3 28

  29.   u ai bj ck a b b b c b   cos   a c 2 2 2   cos   a c 2 2 2   cos   a c 2 2 2 MTH2103 Unit 3 29

  30. 3.12 ผลคูณภายนอก; ผลคูณเวกเตอร์ : A B  เมื่อ คือ เวกเตอร์ 1 หน่วยที่ตั้งฉากกับทั้ง และ B A n

  31. คุณสมบัติของผลคูณเวกเตอร์คุณสมบัติของผลคูณเวกเตอร์         4 i j i    A B    1 0 A B    A B    B A  2      3 0 i i j j k k i   j k     j k i k i j j k       k k j i i k j      7         A B  5 cA dB cd A B   B A

  32. 3.13 กฎการกระจาย              B C  A B   A C  A    B C   B A   A C A MTH2103 Unit 3 32

  33. 3.14 ผลลัพธ์ของ A B  A B    sin n A B เมื่อ คือ เวกเตอร์ 1 หน่วยที่ตั้งฉากกับทั้ง และ B A n A B  a k  เรายังสามารถค านวณหาค่า A ai  ได้อีกวิธีหนึ่ง นั่นคือ ถ้าก าหนด B bi     a j b j bk 1 2 3 1 2 3 i j k a b A B   a b a b 1 2 3 1 2 3

  34. 3.15 ผลคูณของเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ ผลคูณเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ มีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) มีผลลัพธ์เป็น เวกเตอร์   A B C     (2) มีผลลัพธ์เป็น สเกลาร์ A B C     (3) มีผลลัพธ์เป็น เวกเตอร์ A B   C   ไม่มีความหมาย (4) A B   C

  35.  A B C   ข้อควรสนใจ รูปแบบที่ (2) เรียกอีกอย่างได้ว่า Box product   A B    C เนื่องจาก ปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน a b c a b c a b c 1 2 3 โดยที่   A B    C 1 2 3 1 2 3          A a i a j a k เมื่อ 1 2 3 C B bi b j b k 1 2 3 B C c i  c j c k 1 2 3 A    A B C    A B C  

  36. 3.16 การประยุกต์ของเวกเตอร์ใน 3 มิติ (1) เส้นตรงในปริภูมิ 3 มิติ z   , , P x y z 0 0 0 0 v L y x ,   สมการเส้นตรง ที่ผ่านจุด เวกเตอร์ จะเขียนอยู่ในรูปตัวพารามิเตอร์ เรียกว่า สมการอิงตัวแปรเสริม (parametric equation) ดังนี้ และขนานกับ L ai , P x y z ck            x y z x y z at bt ct 0 0 0 0 0    v bj  , . t 0 0

  37. (2) มุมระหว่างเส้นตรง 2 เส้นในปริภูมิ 3 มิติ มุมระหว่างเส้นตรง 2 เส้นที่ตัดกัน ก็คือ มุมระหว่างเวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกัน กับเส้นตรงสองเส้นนั้น MTH2103 Unit 3 37

  38. normal vector (3) ระนาบในปริภูมิ 3 มิติ n M 0P      สมการระนาบที่ผ่านจุด เป็นเวกเตอร์ตั้งฉากกับระนาบ จะมีสมการอยู่ในรูป ดังนี้   0 a x x  และมีเวกเตอร์ n ai bj ck , , P x y z 0 0 0 0          0 b y y c z z 0 0

  39.  ตัวอย่าง จงหาสมการระนาบที่ผ่านจุด เวกเตอร์ 2 n i   และตั้งฉากกับ 2, 3,5  P  3 4 j k     ตัวอย่าง จงหาสมการระนาบที่ผ่านจุด และ   3,2,1 C 1, 3,2 ,  2, 1,3  A B

  40. (4) มุมระหว่างระนาบ 2 ระนาบ M 2 2 n M 1n 1   มุมระหว่างระนาบ กับ (normal vector) ของทั้งสองระนาบนั้น จะเท่ากับมุมระหว่างเวกเตอร์ตั้งฉาก M M 2 1

  41.     ดังนั้น การหามุมระหว่างระนาบ : 0 M Ax B y C z  D 1 1 1 1 1   : 0 M A x B y C z D 2 2 2 2 2 มีขั้นตอน ดังนี้ (i) หาเวกเตอร์ตั้งฉาก นั่นคือ เราจะได้ว่า และ   2 n n n ของระนาบ B j  B j  และ และ ตามล าดับ 1n n n 2 n M M 2 1  Ai Ai Ck C k  1 1 1 1 2 2 2 2 (ii) หามุมระหว่าง และ โดยใช้สูตรผลคูณสเกลาร์ 1n    cos n n 1 2 1 2  n n n n    cos 1 2 1 2

  42. ตัวอย่าง จงหามุมระหว่างระนาบ ระนาบ 2 x y  กับ     3 2 6 15 0 x y z    2 10 0 z

  43. 0P (5) ระยะทางจากจุดไปยังระนาบ d M   D การหาระยะทางจากจุด ไปยังระนาบ มีขั้นตอน ดังนี้ , , P x y z  0 By 0  0 0   : 0 M Ax Cz (i) หาจุดบนระนาบมา 1 จุด เราจะเรียกว่า จุดQ    M n Ai Bj Ck (ii) หาเวกเตอร์ ที่ตั้งฉากกับระนาบ ซึ่งก็คือ n QP (iii) หาเวกเตอร์ 0 n QP  0  d (iv) หาระยะทาง โดยใช้สูตร n

  44. 0  ตัวอย่าง จงหาระยะทางจากจุด 3 x  ไปยังระนาบ 02,1,8 P    2 6 12 y z

More Related