1 / 10

วงจรขนาน

วงจรขนาน. วงจรขนานคือ การนำโหลดมาต่อขนานกันหรือต่อคร่อมกัน ตั้งแต่สอง ตัวขึ้นไปโดยนำจุดต่อของปลายทั้งสองข้างของโหลดแต่ละตัวมาต่อร่วมกัน (ในสื่อการเรียนนี้จะขอใช้ตัวต้านทานแทนโหลดทั่ว ๆ ไป). รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน. สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญ บัณฑิต.

Download Presentation

วงจรขนาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วงจรขนาน วงจรขนานคือ การนำโหลดมาต่อขนานกันหรือต่อคร่อมกัน ตั้งแต่สอง ตัวขึ้นไปโดยนำจุดต่อของปลายทั้งสองข้างของโหลดแต่ละตัวมาต่อร่วมกัน (ในสื่อการเรียนนี้จะขอใช้ตัวต้านทานแทนโหลดทั่ว ๆ ไป) รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

  2. วัตถุประสงค์ของการเรียนวัตถุประสงค์ของการเรียน 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนคำนวณค่าความต้านทานรวมที่ต่อแบบขนานได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนวัดค่าแรงดัน กระแส และค่าความต้านทานของ วงจรได้ สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

  3. การคำนวณค่าความต้านทานรวมที่ต่อแบบขนานการคำนวณค่าความต้านทานรวมที่ต่อแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

  4. รูปที่ 2 แสดงการต่อตัวต้านทานแบบขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

  5. จากรูปที่ 2 สามารถคำนวณหาค่าความต้านทานรวมได้ดังนี้ สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

  6. การวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนานการวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน 1. นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ให้มากกว่า แหล่งจ่าย (E) 2. นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟบวกของตัว ต้านทาน R1 3. นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ สัมผัสกับด้านไฟลบของตัว ต้านทาน R1 4. อ่านค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทาน R1 5. ทำขั้นตอนที่ 1-4 เพื่อวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R2และ R3 สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

  7. รูปที่ 3 แสดงการวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทานในวงจรขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

  8. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรขนานการวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน 1. นำมัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดกระแส (mA) ให้มีค่าสูงไว้ก่อน 2. นำสายด้านไฟบวกของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟบวกของ แหล่งจ่ายไฟ 3. นำสายด้านไฟลบของมัลติมิเตอร์ต่ออนุกรมเข้ากับด้านไฟลบของ แหล่งจ่ายไฟ 4. อ่านค่ากระแสที่ไหลผ่านในวงจร สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

  9. รูปที่ 4 แสดงการวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานในวงจรขนาน สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ที่มาของภาพ http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-06.html

  10. แบบฝึกหัดท้ายบท 1. วงจรขนานคืออะไรจงอธิบาย 2. จงอธิบายการวัดค่าแรงดันตกคร่อมในวงจรขนาน 3. จงอธิบายการวัดค่ากระแสในวงจรขนาน 4. การต่อวงจรแบบขนานมีข้อดีอย่างไรจงอธิบาย 5. การต่อวงจรแบบขนานค่าความต้านทานรวมในวงจรจะมีค่า เพิ่มขึ้นหรือลดลง ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบท โดยส่งทางอีเมล samranlertkonsarn@gmail.com สื่อเสริมเรื่อง วงจรไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

More Related