1 / 76

ความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิ บาลในการปฏิบัติงาน

รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง คณะวิทยาศาสตร์. ความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิ บาลในการปฏิบัติงาน. ความหมาย ทำไมบุคลากรต้องมีคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ จริยธรรมในองค์กร คุณธรรม จริยาธรรม สำหรับข้าราชการและพนักงาน. ประเด็นที่นำเสนอ :. ความหมาย ของ คุณธรรม จริยธรรม.

maia
Download Presentation

ความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิ บาลในการปฏิบัติงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รศ.ดร.รัตนา สนั่นเมือง คณะวิทยาศาสตร์ ความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน

  2. ความหมาย ทำไมบุคลากรต้องมีคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ จริยธรรมในองค์กร คุณธรรม จริยาธรรม สำหรับข้าราชการและพนักงาน ประเด็นที่นำเสนอ :

  3. ความหมาย ของ คุณธรรม จริยธรรม

  4. พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาของราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2532 (1) “คุณธรรม: หลักที่มนุษย์ถือเป็นแนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินชีวิต เช่น ความยุติธรรม ความเมตตา ฯลฯ”

  5. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2542 (1) จริยธรรม: “ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม”

  6. นิยามหรือความหมายอื่น (2) คุณธรรม (Virtue) คือ สภาพของคุณงามความดี ที่สะท้อนออกมาจากนิสัยที่มีอยู่เป็นประจำของแต่ละบุคคล ซึ่งปรากฏให้เห็นเป็นบุคลิกลักษณะ (Character) ของผู้นั้น

  7. จริยธรรม (Morals) : -หลักความประพฤติที่ดีงาม -สอดคล้องกับหลักศีลธรรมทางศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม -ก่อให้เกิดความสงบสุขแก่ตนเองและผู้อื่น -รู้ว่า “สิ่งใดควรทำและสิ่งใดไม่ควรทำ”

  8. คุณธรรมและจริยธรรม(2) ในที่นี้ยังหมายถึง จรรยาบรรณ (Code of Ethics) ของผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ รวมทั้งจรรยาบรรณของข้าราชการ

  9. สำหรับองค์กร(2) ครอบคลุมไปถึงสิทธิและหน้าที่ กฎ กติกา และมรรยาทสังคมทุกด้าน ที่ถือปฏิบัติอยู่ในองค์กรและสังคมที่เกี่ยวข้องกับองค์กรด้วย

  10. คุณธรรม(4)  : ธรรมที่เป็นคุณประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ “กรณีข้าราชการ มีหน้าที่สร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชน มีวิสัยทัศน์ พันธกิจที่กำหนดไว้ชัดเจน”

  11. เช่น Aristotle : คุณธรรมของผู้นำ 7 ประการ 1.      ความยุติธรรม 2.      ความกล้าหาญ 3.      ความมีสติและมั่นคงทางอารมณ์ 4.      ความโอบอ้อมอารี 5.      มีเกียรติยศชื่อเสียง 6.      มีความเห็นอกเห็นใจ 7.      มีวาจาสัตย์

  12. จริยธรรม(4) ธรรมที่ดี ที่งาม ทำให้ผู้ถือปฏิบัติมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มีความสง่างาม รวมทั้งกายทั้งใจ

  13. ทำไม ต้องมีคุณธรรม-จริยธรรม ทุกคน ?

  14. ข้อมูลล่าสุดจาก “ศูนย์คุณธรรม”(4)ระบุว่าเด็กไทยขาดคุณธรรม 6 ด้าน ผลสำรวจ เด็กได้คะแนนเพียง 67.2% · ความมีวินัย · ความรับผิดชอบ · ความซื่อสัตย์สุจริต · สติสัมปะชัญญะ · จิตอาสา · ความขยันหมั่นเพียร

  15. วันที่ 18 ก.ค. สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่องวันอาสาฬหบูชา และบุคคลควรเป็นต้นแบบด้านคุณธรรมในสายตาประชาชน กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ใน 17 จังหวัดรวมจำนวนทั้งสิ้น 2,102 คน ระหว่างวันที่ 14-17 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา พบว่า

  16. สถานการณ์ปัจจุบันเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ในสังคมไทย(3)

  17. กลุ่มบุคคลที่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม(3)

  18. นักการเมืองที่ควรเป็นต้นแบบในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม(3)

  19. บุคคลที่เป็นข้าราชการที่ควรเป็นต้นแบบบุคคลที่เป็นข้าราชการที่ควรเป็นต้นแบบ ในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม(3)

  20. ผู้ใหญ่ในสังคมที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าควรเป็นต้นแบบผู้ใหญ่ในสังคมที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าควรเป็นต้นแบบ ในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม(3)

  21. ผลการสรุปของ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย(TDRI) (6)

  22. มูลนิธิองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย(8) (Transparency Thailand) พบว่า ประเทศไทยได้ 35 คะแนน เท่ากับ ประเทศเอกวาดอร์ มอลโดวา และปานามา ประเทศเดนมาร์ก และนิวซีแลนด์สามารถครองแชมป์อันดับหนึ่ง (91 คะแนนจาก 100 คะแนน) กลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศที่ได้คะแนนเกินครึ่ง ได้แก่ สิงคโปร์ (86 คะแนน) บรูไน (60คะแนน) และมาเลเซีย (50 คะแนน)ประเทศลาว และประเทศพม่า ดีขึ้นกว่าปีที่แล้วอย่างเห็นได้ชัด   CPI (Corruption Perceptions Index) คือ ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์ปัญหาคอร์รัปชันของประเทศ จัดทำโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระนานาชาติ มีเครือข่ายใน 120 ประเทศทั่วโลก

  23. ตารางที่ 1 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน ประจำปี พ.ศ.2556 ของประเทศในภูมิภาคอาเซียน

  24. ตารางที่ 2 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน ประจำปี พ.ศ. 2556 ของประเทศไทย ตั้งแต่ ปี 2550 - 2556 

  25. "สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 1,289 คน ระหว่างวันที่ 6 - 8 ธันวาคม 2555 สรุปผลดังนี้

  26. ประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไร?ประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไร? กรณี ไทยติดอันดับ 88 ประเทศคอรัปชั่น อันดับ 1 เป็นเรื่องน่าอาย ทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศเสื่อมเสีย 33.25%อันดับ 2 เป็นปัญหาสำคัญที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะรัฐบาลต้องรีบ ดำเนินการอย่างจริงจัง 28.06%อันดับ 3 รู้สึกเป็นห่วงและสงสารประเทศไทย คนไทยทุจริตคอรัปชั่นกันมากขึ้น โดยเฉพาะนักการเมือง 22.96%อันดับ 4 มาตรการ บทลงโทษต่างๆยังไม่เด็ดขาดพอ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องละเลยต่อ การปฏิบัติหน้าที่ 15.73%

  27. "อาชีพ" ที่ประชาชนคิดว่ามีการ "คอรัปชั่น" มากที่สุด อันดับ 1 นักการเมือง /นักการเมืองท้องถิ่น 45.39%อันดับ 2 ข้าราชการ 30.24%อันดับ 3 ตำรวจ /ทหาร 12.86%อันดับ 4 นักธุรกิจ /นักลงทุน 11.51%

  28. "สาเหตุ" ของการ "คอรัปชั่น" ในประเทศไทย คือ อันดับ 1 การใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่ผิด เห็นช่องทางที่จะได้เงิน / มีคนยุ คนเสนอ 37.96%อันดับ 2 กฎหมายหย่อนยาน บทลงโทษไม่เด็ดขาด เจ้าหน้าที่ละเลยในการ ปฏิบัติหน้าที่ รับสินบน 24.49%อันดับ 3 เกิดจากพฤติกรรม นิสัยส่วนตัว /ความโลภ ความอยากได้ไม่รู้จัก พอ 20.67%อันดับ 4 สภาพสังคม เศรษฐกิจที่แย่ลง /ฐานะทางครอบครัวยากลำบาก / มีแบบอย่างที่ผิดๆให้เห็น 16.88%

  29. “วิธีแก้ปัญหาคอรัปชั่น”(9)“วิธีแก้ปัญหาคอรัปชั่น”(9) ที่ประชาชนคิดว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดและเป็นรูปธรรมมากที่สุด คือ อันดับ 1 การปลูกฝัง อบรมสั่งสอนเลี้ยงดูบุตรหลานตั้งแต่วัยเยาว์ 43.08%อันดับ 2 กฎหมาย บทลงโทษต้องเด็ดขาด /เจ้าหน้าที่ภาครัฐเข้มงวดกวดขัน เอาจริง เอาจัง ไม่ละเลยในหน้าที่ 29.21%อันดับ 3 ทุกคนต้องร่วมมือกัน ช่วยกันเป็นหูเป็นตา หากพบเจอการทุจริต ควรรีบแจ้งทันที ไม่ควรนิ่งเฉยหรือละเลย 15.57%อันดับ 4 ทุกภาคส่วนต้องช่วยกันรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้คนไทยหยุดการ ทุจริตคอรัปชั่น /มีแบบอย่างที่ดี 12.14%

  30. ภาพลักษณ์คอรัปชั่นไทยโคม่า(10)ภาพลักษณ์คอรัปชั่นไทยโคม่า(10) ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เผยผลการสำรวจดัชนีสถานการณ์คอรัปชั่นไทย ประจำเดือนธันวาคม 2556 จากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการ ข้าราชการ และประชาชน จำนวน 2,400 ตัวอย่าง พบว่าอยู่ที่ระดับ 39 คะแนน ลดลงจากสถานการณ์ระดับปานกลาง (41 คะแนน มิ.ย.56) มาอยู่ในระดับรุนแรง ร้อยละ 75 เห็นว่าการประกอบธุรกิจกับภาครัฐ ยังคงต้องจ่ายเงินใต้โต๊ะ คิดเป็นร้อยละ 25-35 ของงบประมาณ

  31. การแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น โดยควรปลูกจิตสำนึกและสร้างคุณธรรม จริยธรรมแก่ทุกภาคส่วน และให้ภาคประชาชนและเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบทุจริตคอรัปชั่น

  32. เม็ดเงินที่เสียหายจากคอรัปชั่นเพิ่มขึ้นจาก 194,395-272,153 ล้านบาท ในปี 54 เป็น 210,035-294,050 ล้านบาทในปี 55 และเป็น 235,652-329,912 ล้านบาทในปี 56 หรือเสียหายเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 20,000 ล้านบาท ประเทศในเอเชียหลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ กลับมีอันดับที่ดีขึ้น ในปี 2557 ยังมองว่าปัญหาคอรัปชั่นไทย จะยังไม่ดีขึ้น

  33. ประเทศไทยกำลังเผชิญกับสถานการณ์ทางด้านคุณธรรม(3) จริยธรรมที่น่าเป็นห่วงประชาชนส่วนใหญ่มองว่าคุณธรรม จริยธรรมในสังคมไทย และความศรัทธา ในกลุ่มคนชนชั้นนำในสถาบันต่างๆ นั้นเสื่อมลง

  34. คนที่จะมีคุณธรรม จริยธรรมได้จะต้องมีพื้นฐาน 6 ประการ(4) 1. ต้องรู้จักละอายต่อบาป (เมื่อบาปปรากฏ) 2. ต้องรู้จักละอายตัวเอง (เมื่อกระทำผิด) 3. ต้องรู้จักความพอ (จึงจะห้ามใจได้) 4. ต้องไม่ลืมตัวบ่อยและง่ายเกินไป (จะได้ไม่เผลอฉวยโอกาส) 5. ต้องรู้จักกฎธรรมชาติ (Natural Law) ของความพอดี อะไรควรเป็นของเรา 6. เอาใจเขามาใส่ในเรา คิดถึงคนอื่น

  35. คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ( นโยบายการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ) 7) สามัคคี 1) ขยัน 2) ประหยัด 3) ซื่อสัตย์ 4) มีวินัย 5) สุภาพ 6) สะอาด 8) มีน้ำใจ

  36. สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (7) สำรวจ เรื่อง จุดวิกฤตของปัญหาทุจริตคอรัปชั่นในหมู่คนไทย จุดวิกฤตของประเทศและผลประโยชน์ของทุกคน กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนอายุ 10 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,561 ตัวอย่าง 12-16 มี.ค. 2556

More Related