1 / 29

การตรวจสอบภายในภาคราชการ

การตรวจสอบภายในภาคราชการ. โดย เกศริน ภัทรเปรมเจริญ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ. ผู้บริหาร. ผู้ตรวจสอบภายใน. ผู้ปฏิบัติงาน. รายงานผลการตรวจสอบ. รายงานตามหน้าที่รับผิดชอบ. องค์กร. งานตรวจสอบภายใน. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing). จุดประสงค์

makani
Download Presentation

การตรวจสอบภายในภาคราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบภายในภาคราชการการตรวจสอบภายในภาคราชการ โดย เกศริน ภัทรเปรมเจริญ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ

  2. ผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ปฏิบัติงาน รายงานผลการตรวจสอบ รายงานตามหน้าที่รับผิดชอบ องค์กร งานตรวจสอบภายใน

  3. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) จุดประสงค์ เพื่อช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลตามความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และยังรวมถึงการส่งเสริมให้มีการควบคุมที่มีประสิทธิผล โดยเสียค่าใช้จ่ายที่สมเหตุสมผล

  4. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) ความหมาย กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น การตรวจสอบภายในจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแลอย่างเป็นระบบ ที่มา : มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ

  5. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) • ความสำคัญและประโยชน์ • ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการที่ดี • ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ • ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การปฏิบัติงาน • เป็นมาตรการถ่วงดุลอำนาจ • ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า

  6. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) แนวคิดเดิม แนวคิดใหม่ • -เป็นหน่วยงานอิสระ • -งานหลัก คือ การประเมิน • -จัดตั้งขึ้นมา เพื่อให้บริการตรวจสอบ • และประเมินกิจกรรมต่างๆ • -ช่วยให้บุคลากรในองค์กรทำหน้าที่ • ของตนบรรลุตามที่ได้รับมอบหมาย • -วิเคราะห์ ประเมิน แนะนำ ปรึกษา • และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมที่ • ตรวจสอบ • - เป็นหน่วยงานอิสระ แต่ต้องคำนึงถึง • จุดประสงค์ของการให้บริการด้วย • - งานหลัก คือ การให้ความมั่นใจ • และให้คำปรึกษา • - จัดตั้งขึ้นมาเพื่อสร้างคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานในองค์กร • - ช่วยให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ • - ปรับปรุงประสิทธิผลในการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และ การกำกับดูแลที่ดีขององค์กร

  7. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) ตั้งรับ เชิงรุก หาข้อบกพร่อง ดูให้มั่นใจว่าถูกต้อง ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว โอกาสที่จะปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น หลีกเลี่ยงความเสี่ยง จัดการความเสี่ยง เน้นควบคุมแต่เพิ่มงาน เน้นทั้งการควบคุมและประสิทธิภาพ ตรวจตามลักษณะหน่วยงาน เน้นตรวจตามความเสี่ยง ดูทุกอย่างไม่เลือกเล็กหรือใหญ่ เลือกดูแต่เรื่องสำคัญ ตำรวจ ยาม เพื่อนร่วมงาน

  8. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) • วิสัยทัศน์ บทบาท และผลงาน • การเพิ่มคุณค่าให้องค์กร • การสร้างการยอมรับในองค์กร • การยกระดับคุณภาพงานตรวจสอบ • การเพิ่มประสิทธิภาพงานตรวจสอบ

  9. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) การสร้างการยอมรับในองค์กร • ผู้รับการตรวจ คือ ผู้รับบริการ • การมีส่วนร่วมของผู้รับการตรวจ • การให้เครดิตแก่ผู้รับการตรวจ • การประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง • การปรับปรุงและรู้จักองค์กร • การยึดถือมาตรฐานและจรรยาบรรณ

  10. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) การยกระดับคุณภาพงาน • คุณภาพบุคลากรผู้ตรวจสอบภายใน • การพัฒนาบุคลากรผู้ตรวจสอบภายใน • ความรู้ ทักษะ และความสามารถโดยรวม • การกำกับควบคุมงานตรวจสอบ • การประเมินและกำหนดผลตอบแทน

  11. ผลสำเร็จของงาน ความสัมพันธ์ กับหน่วยรับตรวจ ความน่าเชื่อถือ ความพึงพอใจ ของผู้บริหาร การปฏิบัติตาม มาตรฐานและ จริยธรรม การบริหารงาน /โครงการ ข้อเสนอแนะและ ดำเนินการปรับปรุงที่ได้ผล การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง การทำงานเป็นทีม ความสามารถของ ผู้ตรวจสอบภายใน

  12. การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) การสร้างคุณค่าเพิ่ม ให้กับองค์กร การบริการให้ความเชื่อมั่น การบริการให้คำปรึกษา • การประเมินผล • การบริหารความเสี่ยง • การควบคุม • การกำกับดูแลที่ดี • ข้อแนะนำ • ข้อเสนอแนะ

  13. มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายใน ภาคราชการ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน จริยธรรมการปฏิบัติงาน

  14. ปฏิบัติงานอย่างอิสระ การตรวจสอบภายใน ( Internal Auditing ) ประเมินระบบการควบคุมภายใน ป้องกันการรั่วไหลทางด้านการเงินและบัญชี หน่วยงานต่างๆ เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด ประเมินการปฏิบัติงาน ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน กระตุ้นให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย ตรวจสอบการควบคุมการบริหาร ให้บริการคำแนะนำแก่ฝ่ายจัดการ

  15. กระบวนการตรวจสอบ ( Audit Process ) การวางแผน ( Planning ) แนวการตรวจสอบ ( Audit Program ) สิ่งที่ตรวจพบ ( Audit Findings ) การปฏิบัติงานภาคสนาม ( Field Work ) การรายงานผลงาน ( Communicating Results ) รายงานการตรวจสอบ ( Audit Report ) รายงานผลการเสนอแนะ ( Report of Recommendation ) การติดตามผล ( Follow - up )

  16. กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ( Internal Audit Process ) การวางแผน กระดาษทำการ การสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน การประเมินความเสี่ยง การวางแผนการตรวจสอบ การวางแผนการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน ก่อนเริ่มการปฏิบัติงานตรวจสอบ ระหว่างการปฏิบัติงานตรวจสอบ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานตรวจสอบ การจัดทำรายงานและการติดตามผล รายงานผลการปฏิบัติงาน การติดตามผล

  17. หลักการ • - การบังคับใช้ • ระเบียบ • คำศัพท์ • การรักษาการ • ตามระเบียบ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 หมวด 1 ความทั่วไป หมวด 2 หน้าที่ ความรับผิดชอบ หมวด 3 หน่วยรับตรวจ หมวด 4 เบ็ดเตล็ด - หน้าที่ความ รับผิดชอบ - สายการบังคับ บัญชา - ความเป็นอิสระ - การเข้าถึงข้อมูล - หน่วยงานที่รับผิดชอบ - จ้างผู้เชี่ยวชาญ • การตรวจสอบของ • กระทรวงกลาโหม • การจัดทำมาตรฐาน • คู่มือ แนวปฏิบัติ • ปัญหาตามระเบียบ • หน้าที่ความ • รับผิดชอบ • ขอบเขตงาน

  18. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ • โครงสร้างมาตรฐานการตรวจสอบภายใน • ส่วนที่ ๑ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ • ส่วนที่ ๒ มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน • ส่วนที่ ๓ คำอธิบายศัพท์ • ส่วนที่ ๔ จริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

  19. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ผังโครงสร้าง มาตรฐานการตรวจสอบภายใน มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน มาตรฐานด้านคุณสมบัติ

  20. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ ๑๐๐๐ วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ๑๑๐๐ ความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม ๑๒๐๐ ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบ ๑๓๐๐ การประกันและการปรับปรุงคุณภาพ

  21. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน ๒๐๐๐ การบริหารงานตรวจสอบภายใน ๒๑๐๐ ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน ๒๒๐๐ การวางแผนการปฏิบัติงาน ๒๓๐๐ การปฏิบัติงาน ๒๔๐๐ การรายงานผลการปฏิบัติงาน ๒๕๐๐ การติดตามผล ๒๖๐๐ การยอมรับสภาพความเสี่ยงของฝ่ายบริหาร

  22. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ จริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน • ความซื่อสัตย์ • ความเที่ยงธรรม • การปกปิดความลัย • ความสามารถในหน้าที่

  23. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ การบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล การบริหารความเสี่ยงองค์กร แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี การควบคุมภายใน แผนปฏิบัติราชการประจำปี Input แผนของหน่วยปฏิบัติ งาน/โครงการ Process แผนปฏิบัติราชการ Output ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน PMQA

  24. การบริหารความเสี่ยงองค์กร(Enterprise Risk Management) COSO การควบคุมภายใน(Internal Control)

  25. ความหมายและวัตถุประสงค์การควบคุมภายในความหมายและวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน กระบวนการในการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยงานจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุ วัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ การดำเนินงาน ( Operation Objectives ) 2. เพื่อให้เกิดความเชื่อถือได้ของการรายงานทางการเงิน ( Financial Reporting Objectives ) 3. เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ( Compliance Objectives )

  26. Input Process Output การควบคุมภายใน ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน

  27. องค์ประกอบการควบคุมภายในองค์ประกอบการควบคุมภายใน การติดตามและประเมินผล สารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมการควบคุม

  28. ตามหลักการ Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission ( COSO ) การบริหารความเสี่ยง

  29. สวัสดี สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง โทร. 0 2127 7285 E-mail address : IASTD@cgd.go.th

More Related