1 / 26

คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.หาดใหญ่

คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถนนกาญจนวณิชย์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 074-212806 โทรสาร 074-212823 http://www.natres.psu.ac.th/ email คณะฯ : natural-res@group.psu.ac.th. การจัดการความรู้ใน คณะทรัพยากรธรรมชาติ. 1. คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.หาดใหญ่.

Download Presentation

คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.หาดใหญ่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถนนกาญจนวณิชย์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท์ 074-212806 โทรสาร 074-212823 http://www.natres.psu.ac.th/ email คณะฯ : natural-res@group.psu.ac.th การจัดการความรู้ใน คณะทรัพยากรธรรมชาติ 1 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.หาดใหญ่

  2. การจัดการความรู้ คือ • การนำความรู้ใช้งาน • การเพิ่มพูนความรู้จากการทำงาน • การสร้างชำนาญให้เป็นความรู้ให้เป็นผลงาน • การหาคำตอบในการทำงาน • การลดเวลาการให้คำตอบในการทำงาน • การเพิ่มค่าของความรู้ที่เกิดจากการทำงาน

  3. ชำนาญการ วงจรการใช้ความรู้ ผลงาน Start here • Explicit knowledge Tacit knowledge การหาความรู้ทางทฤษฎี การหาความรู้จากที่อื่นในเรื่องเดียวกัน ชำนาญงาน วิเคราะห์บันทึก ผลผลิต/ผลการทำงาน Working knowledge

  4. วัตถุประสงค์ • สื่อสาร ทำความเข้าใจ กฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติงานร่วมกัน • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านวิชาการ เทคนิคการใช้คอมพิวเตอร์ การจัดทำสื่อ ฯลฯ • การรวบรวมความรู้จากผลงานวิจัย และอื่น ๆ เช่น การปฏิบัติงานร้านค้าในงานเกษตรภาคใต้ • ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ทั้งภายใน และภายนอก คณะ มหาวิทยาลัย • การพัฒนาเป็นผลงาน และพัฒนาบุคลากร • นำความรู้ใช้งาน หลักสูตรอบรม ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ การเป็นที่ปรึกษา วิทยากร

  5. การพัฒนาแบบ balanced scorecard(BSC) การเงิน ลูกค้า ผลิตภัณฑ์/บริการ บุคลากร

  6. กระบวนการจัดการความรู้ในคณะทรัพยากรธรรมชาติ๑. การจัดการความรู้ผ่านระบบ share.psu • จัดความพร้อม ด้านเครื่องมือ คอมพิวเตอร์ ให้เจ้าหน้าที่ทุกหน่วย • ให้ความรู้ จัดอบรมการใช้ share.psu และให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง เริ่มจากจัดอบรมให้บุคลากรในคณะฯ 15 ม.ค. 51 โดย ผศ.กลางเดือน โพชนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ให้ความรู้แก่บุคลากรโดยฝึกปฏิบัติ และสมัครเข้าระบบ • สู่ปฏิบัติ จัดระบบในคณะ • จัดการติดตาม • ให้ความสนับสนุน

  7. ระบบ share.psu คณะทรัพยากรธรรมชาติ • ตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ และมีการประชุมปีละ 3 ครั้ง • ทำแผนการจัดการความรู้ในแต่ละปีการศึกษาและประเมินผลเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนในปีการศึกษาต่อไป • ทำเว็บไซต์ KM ของคณะฯ และมีการประชาสัมพันธ์เป็นระยะ ๆ • จัดกิจกรรมเด่นๆ ในการจัดการความรู้ คือ * อบรมและให้ความรู้ * บันทึกผ่าน share.psu และมีการให้รางวัลเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ *บันทึกควมรู้จากกิจกรรมขยายผลทั้งงานวิจัย วิเทศสัมพันธ์ อบรม/ดูงาน และบริการวิชาการ เป็นประจำทุกเดือน * บันทึกจากเวทีการนำเสนอผลงานพัฒนางาน

  8. เว็บไซต์ KM คณะทรัพยากรธรรมชาติ

  9. สถิติการเข้าเยี่ยมชม Web Site KM(ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552)

  10. กิจกรรมเด่นในการจัดการความรู้กิจกรรมเด่นในการจัดการความรู้ 1. กิจกรรมอบรมและให้ความรู้ • จัดอบรม เทคนิคการใช้ Sharepsu ให้ความรู้แนวทางในการเขียนบันทึก จำนวน 2 ครั้ง วิทยากร คือ นางจรรยา เพชรหวน งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ และนางมะลิ นิลสุวรรณ งานนโยบายและแผน มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด จำนวน 52 คน ผลการประเมินอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก

  11. 2. กิจกรรมอบรมและให้ความรู้ (ต่อ) จัดอบรมเรื่อง การนำ KM มาใช้พัฒนาความรู้ของภาควิชา โดย รศ. พญ. ปารมี ทองสุกใส หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์มีผู้เข้าร่วมจำนวน 48 คน ผลการประเมินอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก

  12. 3. กิจกรรมอบรมและให้ความรู้ (ต่อ) จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง การใช้ E-mail จาก Webmail ม.อ.อย่างไรให้ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ โดย นางสาวยุวภา โฆสกิตติกุล งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ มีผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นบุคลากรฝ่ายสนับสนุน จำนวน 50 คน ผลการประเมินอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก

  13. สรุปการใช้งานhttp://share.psu.ac.thสรุปการใช้งานhttp://share.psu.ac.th ในช่วง 4 เดือนแรก (15 ม.ค. 51 - 31 พ.ค. 51) รวมจำนวนบันทึก 191 บันทึก รวมจำนวนใช้งาน 46 คน (นับซ้ำ) จัดทำ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552

  14. สรุปการใช้งานhttp://share.psu.ac.thสรุปการใช้งานhttp://share.psu.ac.th ปีการศึกษา 2551(1 มิ.ย. 51 - 31 พ.ค. 52) ได้รับรางวัลจากมหาวิทยาลัย Share Award จำนวน 9 คน รวม 100 บันทึก หมายเหตุ: รางวัล Share Award ตั้งแต่วันที่ 1 – 31 กรกฎาคม 2551 รวมจำนวนบันทึก 556 บันทึก รวมจำนวนใช้งาน 149 คน (นับซ้ำ) ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552

  15. บันทึกมีการเข้าอ่านมากกว่า 2,000 ครั้ง(ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552)

  16. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Sharepsu ของ Blog พัฒนางานคณะทรัพยากรธรรมชาติ ปีการศึกษา 2551 • บันทึกที่มีการเข้าอ่านมากกว่า 1,000 ครั้ง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552)

  17. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Sharepsu ของ Blog พัฒนางาน คณะทรัพยากรธรรมชาติ ปีการศึกษา 2551 (ต่อ) • บันทึกที่มีการเข้าอ่าน มากกว่า 500 ครั้ง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552)

  18. ๒. กิจกรรมขยายผลงานวิจัย วิเทศสัมพันธ์ อบรม/ดูงาน และบริการวิชาการ เป็นประจำทุกเดือน ในปีการศึกษา 2551

  19. ๒. กิจกรรมขยายผล (ต่อ)

  20. ๓. เวทีการนำเสนอผลงานการพัฒนางาน • ภาควิชา/หน่วยงาน นำเสนองานพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพครั้งที่ 2 จำนวน 13 เรื่อง ในวันที่ 30-31 มีนาคม 2552 ดังนี้ 1. ระบบการช่วยสอนทางการปฏิบัติการของวิชาต่างๆ 2. การแก้ปัญหานักศึกษาภาควิชาการจัดการศัตรูพืชที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษต่ำ 3. การจัดการห้องปฏิบัติการอาหารสัตว์ 4. การพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาภาควิชาพัฒนาการเกษตร 5. การเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์เพื่อนักศึกษาและบุคลากร 6. การประเมิน online 7. การลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 8. การเผยแพร่บทความทางวิชาการจากรายงานวิจัย 9. การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการเก็บข้อมูลในคณะทรัพยากรธรรมชาติ 10. การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำของศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ 11. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยเฉพาะการเรียนการสอนวิชาสัมมนา 12. การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลผลการจัดกิจกรรมของคณะทรัพยากรธรรมชาติ 13. งานพัฒนาการใช้ประโยชน์พื้นที่สถานีวิจัยท่าเชียด

  21. พิธีมอบรางวัลพร้อมใบเกียรติบัตร นำเสนองานพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพ

  22. ๔. การประมวลความรู้จากผลงานวิจัย และอื่น ๆ • เพื่อ • นำไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เช่น วิธีการกำจัดโรคพืช วิธีการทดสอบเมล็ดพันธุ์ วิธีการดูแลใส่ปุ๋ยพืช ฯลฯ • นำไปบริการวิชาการ จัดหลักสูตรฝึกอบรม การบริการให้คำปรึกษา • นำไปใช้ในการผลิต เช่น พันธุ์พืช(ถั่วฝักยาว พริก ปาล์มน้ำมัน ยางพารา) พันธุ์สัตว์(แพะ) จุลินทรีย์ • การเผยแพร่ด้วยการจัดแปลงสาธิตในงานเกษตรภาคใต้ทำให้มีผู้นำไปเพาะปลูกเป็นอาชีพ เช่น ข้าวโพดหวาน บร๊อคโคลี

  23. การเก็บความรู้ในงานเกษตรภาคใต้การเก็บความรู้ในงานเกษตรภาคใต้

  24. สิ่งที่ต้องช่วยกันทำต่อไปสิ่งที่ต้องช่วยกันทำต่อไป • การนำการจัดนิทรรศการขึ้น share • การนำผลการประกวดปลาสวยงาม ฯลฯ ขึ้น share และทำข้อมูลการพัฒนาพันธุ์ปลาสวยงาม • การใช้กระบวนการวิจัย เพื่อวิเคราะห์งาน ให้เป็นผลงาน • ผลการเรียนของนักศึกษาที่รับด้วยวิธีการต่าง ๆ • ประสิทธิภาพการจัดการพัสดุในระดับภาควิชา • ประสิทธิภาพการใช้ edocument • ปัญหาและการใช้ประโยชน์ของการกรอกภาระงาน • ประสิทธิภาพการใช้คอมพิวเตอร์ในคณะทรัพยากรธรรมชาติ • ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  25. ขอขอบคุณ

More Related