1 / 23

สถานการณ์การเงินการคลัง

สถานการณ์การเงินการคลัง. หน่วยบริการในจังหวัดสตูล ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556. ระดับวิกฤติ ทาง การเงิน. ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556. (ล้านบาท). ภาพรวม กำไร 50.41. ทุนสำรองสุทธิ. (ล้านบาท). ภาพรวม 126.95. เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมงบลงทุน). (ล้านบาท). ภาพรวม 106.56.

Download Presentation

สถานการณ์การเงินการคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์การเงินการคลังสถานการณ์การเงินการคลัง หน่วยบริการในจังหวัดสตูล ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556

  2. ระดับวิกฤติทางการเงิน

  3. ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556 (ล้านบาท) ภาพรวม กำไร 50.41

  4. ทุนสำรองสุทธิ (ล้านบาท) ภาพรวม 126.95

  5. เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมงบลงทุน) (ล้านบาท) ภาพรวม 106.56

  6. แนวโน้มเงินบำรุงคงเหลือ(ไม่รวมงบลงทุน)ตั้งแต่ปี 2550-2556

  7. แนวโน้มเงินบำรุงคงเหลือ(ไม่รวมงบลงทุน)ตั้งแต่ปี 2550-2556

  8. หนี้สินที่ต้องชำระ (ไม่รวมงบลงทุน) (ล้านบาท) ภาพรวม 159.05

  9. ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพท.สตูล • วิกฤติระดับ 1 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Cash Ratio (เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า) • Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด • หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน

  10. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้นได้แก่ เจ้าหนี้วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ข้อสังเกต รพ.สตูล ควรตรวจสอบและควบคุมให้เป็นไปตามนโยบายกระทรวงฯ)

  11. ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ควนกาหลง • วิกฤติระดับ 2 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio และ Cash Ratio • 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ 1.5 เท่า • หนี้สินหมุนเวียน

  12. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัดCurrent Ratio จากกราฟ สินทรัพย์หมุนเวียน มีแนวโน้มสูงขึ้นในไตรมาส 4 แต่นี้สินหมุนเวียนมีแนวโน้มลดลงมาตลอด ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดี (ควรติดตามกำกับดูแล ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ โดย เน้นเรื่องการจัดเก็บสินค้าคงคลัง ให้เพียงพอต่อการใช้ ไม่มากหรือน้อยเกินไป)

  13. 2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน

  14. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากกราฟ Cash Ratio มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งทั้งเงินคงเหลือ และหนี้สินมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่อัตราการเพิ่มของเงินคงเหลือเพิ่มในสัดส่วนมากกว่า ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดี

  15. ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ท่าแพ • วิกฤติระดับ 1 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ NI (กำไรสุทธิ) • เกณฑ์ปกติจะต้องไม่ติดลบ

  16. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด NI จากงบการเงิน ด้านรายได้ ส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกัน ที่แตกต่างจะเป็นส่วนที่ได้รับเงินงบประมาณจาก สสจ.เพื่อช่วยเหลือในการดำเนินงาน(ค่ายา) ด้านรายจ่าย ที่เพิ่มขึ้นได้แก่ วัสดุการแพทย์ วัสดุทั่วไป และค่าตอบแทน (ข้อสังเกต : ค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มสูงขึ้นควรมีการกำหนดมาตรการควบคุมในระดับหน่วยบริการ

  17. ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ • รพช.ละงู • วิกฤติระดับ 3 ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio ,Cash Ratio และ NI (กำไรสุทธิ) • 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ 1.5 เท่า • หนี้สินหมุนเวียน

  18. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด CR จากกราฟของ รพ.ละงู CR มีแนวโน้มดีขึ้น คือ ส/ท หมุนเวียน มีแนวโน้มดีขึ้น และหนี้สินหมุนเวียนมีแนวโน้มลดลง (กำกับดูแลให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ควบคุมการสต็อกวัสดุทุกประเภท)

  19. 2. Quick Ratio = เงินสดและลูกหนี้ เกณฑ์ปกติ 1.0 เท่า หนี้สินที่หมุนเวียน

  20. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด QR

  21. 2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน

  22. แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio จากกราฟ จะเห็นว่าใน ไตรมาสที่ 4 หนี้สินมีจำนวนเพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากพอสมควร ในขณะที่เงินคงเหลือมีจำนวนใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน และจากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้น คือ เจ้าหนี้ค่ายา และเจ้าหนี้วัสดุการแพทย์ เป็นข้อสังเกตว่า ในขณะที่ รพ.มีเงินเท่าเดิม แต่ รพ.ได้มีการตั้งหนี้เพิ่มขึ้นจำนวนมาก โดยที่เป็นข้อสังเกตว่า ได้มีการจัดซื้อเป็นไปตามแผนหรือไม่ และตรวจสอบการจัดซื้อ และการสต๊อกวัสดุต่างๆ

More Related