1 / 114

หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Principle of Human Resource Development

หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Principle of Human Resource Development. นพ.พิเชฐ บัญญัติ วว.เวชปฏิบัติทั่วไป, อว.เวชศาสตร์ครอบครัว อว. เวชศาสตร์ป้องกัน (สาธารณสุขศาสตร์) อว.เวชาศาสตร์ป้องกัน (สุขภาพจิตชุมชน) นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 23 กันยายน 2555. วัตถุประสงค์.

marcy
Download Presentation

หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Principle of Human Resource Development

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Principle of Human Resource Development นพ.พิเชฐ บัญญัติ วว.เวชปฏิบัติทั่วไป, อว.เวชศาสตร์ครอบครัว อว. เวชศาสตร์ป้องกัน (สาธารณสุขศาสตร์) อว.เวชาศาสตร์ป้องกัน (สุขภาพจิตชุมชน) นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 23 กันยายน 2555

  2. วัตถุประสงค์ • อธิบายความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการบริหารองค์กรสมัยใหม่ • อธิบายหลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในระบบบริการสุขภาพ • อธิบายหลักการสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านสุขภาพ

  3. เนื้อหาสาระ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการบริหารองค์การสมัยใหม่ • หลักการการบริหารทรัพยากรมนุษย์ • หลักการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  4. หัวข้อที่ 1 HRDกับการบริหารองค์การสมัยใหม่ แนวคิดองค์การสมัยใหม่ (Modern organization concepts) องค์การคุณภาพ(Quality organization) องค์การแห่งการเรียนรู้(Learning organization) องค์การสมรรถนะสูง (High performance organization) องค์การอัจฉริยะ(Intelligent organization) องค์การเคออร์ดิค (Chaodic organization) 4

  5. วิวัฒนาการองค์การสมัยใหม่วิวัฒนาการองค์การสมัยใหม่ องค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การอัจฉริยะ Intelligent Organization องค์การแบบเครื่องจักร องค์การคุณภาพ องค์การแบบสิ่งมีชีวิต วัฒนธรรมองค์การ องค์การเคออร์ดิกส์ องค์การบริหารตนเอง องค์การ สมรรถนะสูง 5 ที่มา : ดัดแปลงจากพิเชฐ บัญญัติและคณะ, 2549

  6. องค์การแห่งการเรียนรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ • องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งผู้คนขยายขีดความสามารถเพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้องการอย่างแท้จริงและต่อเนื่องเป็นสถานที่ที่ระบบทางความคิดใหม่และการขยายตัวทางความคิดได้รับการสนับสนุน ที่ซึ่งผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและเป็นที่ๆผู้คนเรียนรู้ที่จะเรียนไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง • Knowledge management is a connective tissueof a learning organization. • เปรียบ LO เหมือนที่นา KMเหมือนต้นข้าว รวงข้าวเป็นResultที่มีข้าวเปลือกเป็นOutcomeและข้าวสารเป็นImpact เราต้องการข้าวสาร 6

  7. องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning organization) มีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากความรู้ นำไปสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง มีความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นองค์การที่มีความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถใช้ประโยชน์จากความรู้เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง 7

  8. คุณลักษณะที่สำคัญขององค์การแห่งการเรียนรู้คุณลักษณะที่สำคัญขององค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากความรู้ นำไปสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง การเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเองในอดีต มีความเป็นเลิศในการปฏิบัติตามพันธกิจ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การเรียนรู้จากการทดลอง มีความเป็นเลิศในการดำเนินงานเพื่อมุ่งสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ที่ต้องการ การเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงตนเองอย่างต่อเนื่องให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จากการอบรม และพัฒนา 8 ที่มา : พสุ เดชะรินทร์ และ มงคลชัย วิริยะพินิจ (ก.พ.ร.)

  9. วินัย5ประการ(FD)ของ Peter M. Senge Personal Masteryมีวินัยในตัวเองควบคุมตนเอง ปรับปรุงตนเองสม่ำเสมอ กระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน Mental Modelมีจิตใจที่มีพลังในการสร้างสรรค์ฟังคนอื่น Shared Visionสร้างความฝันร่วมกัน Team Learningมีการเรียนรู้ร่วมกันของทีม Systemic Thinkingคิดเป็นระบบ มองเห็นภาพรวม 9

  10. Learning Disability สภาพความไร้ความสามารถในการเรียนรู้ขององค์การ สภาพการยึดถือว่า “ฉันคือตำแหน่งของฉัน” การหาผู้กระทำผิดหรือแก้ตัว หรือหาแพะรับบาป ภาพลวงตาคิดว่าตัวเองแก้ปัญหาเชิงรุกแก้ปัญหาที่อาการยึดติดเหตุการณ์ การยึดติดในความสำเร็จในอดีต ไม่กล้าคิดกล้าทำสิ่งใหม่เพราะกลัวล้มเหลว ไม่สามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ละน้อยๆและอย่างช้าๆ การเข้าใจว่าการเรียนรู้ที่มีพลังที่สุดคือการเรียนรู้จากประสบการณ์โดยตรง ทีมงานไม่สามารถเรียนรู้จากสมาชิกทีมและประสบการณ์ของทุกคนในทีมได้ 10

  11. องค์การอัจฉริยะ องค์กรอัจฉริยะ คือ องค์กรที่ทำให้พนักงานในองค์กรมีความรู้ ทั้งส่วนลึกและกว้างให้ได้มากที่สุดและไม่หยุดเรียนรู้สร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และสถานที่แห่งความสุข และให้พนักงานได้ใช้สมอง สองมือ หัวใจ จิตวิญญาณได้เต็มที่ (ปรอง กองทรัพย์โต) องค์กรอัจฉริยะ ต้องเป็นองค์กรที่ก้าวข้าม KM แบบที่ทำๆกันอยู่ ต้องไม่ยึดติดแค่ที่ตัวความรู้ แต่ต้องนำไปสู่การพัมนางานและองค์กร และต้องเน้นเรื่องภาวะผู้นำ ไม่ใช่แค่การบริหารจัดการ หัวใจอยู่ที่ทุนทางปัญญา ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างทุนทางปัญญาใหม่ๆได้อย่างต่อเนื่อง (ประพนธ์ ผาสุกยืด) องค์กรอัจฉริยะ คือ องค์กรที่สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างชาญฉลาดพร้อมทั้งสามารถปรับตัวเพื่อสร้างความสามารถที่มีเอกลักษณ์ในการแข่งขันในการสร้างคุณค่าเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง (กฤษ รุยาภรณ์) 11

  12. องค์ประกอบของการเป็นองค์กรอัจฉริยะองค์ประกอบของการเป็นองค์กรอัจฉริยะ Visionary organization Learning organization Shared vision & passion สร้างวิสัยทัศน์และแรงปรารถนาร่วม Continuous feedback & Learning ใช้ข้อมูลย้อนกลับ เปิดรับและเรียนรู้ Intellectual capital Performance & outcomes focus สวมวิญญาณการทำงานที่เน้นผลลัพธ์ High performance organization 12 ที่มา: ประพนธ์ ผาสุกยืด http://gotoknow.org/blog/beyondkm/101233

  13. การสร้างความฉลาดขององค์กร: SMART Strategic Vision & Cultural formation: กำหนดวิสัยทัศน์และวัฒนธรรม Manage intelligence empowerment process: การเจียระนัยและปลดปล่อยศักยภาพของบุคลากร Architect organization competencies: ออกแบบสมรรถนะและจุดโดดเด่นขององค์กร Re-align win-win learning system: การจัดระบบการเรียนรู้ขององค์กรและการต่อยอดอัจฉริยภาพ Transform wisdom into action: นำอัจฉริยภาพไปสู่การปฏิบัติ 13 ที่มา: กฤษ รุยาภรณ์ www.e-apic.com

  14. หัวข้อที่ 2: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ • ทรัพยากรมนุษย์ ทุนมนุษย์และทรัพย์สินทางปัญญา • ทรัพยากรมนุษย์ในระบบสุขภาพ (HRH) • PM&HRM & บทบาทผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์แนวใหม่ • หน้าที่หลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร • สรรหา • พัฒนา • รักษาไว้ • ใช้ประโยชน์ 14

  15. ทุนมนุษย์ • ทุนมนุษย์ (Human Capital) เป็นสินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่ไม่มีตัวตน (Intangible Asset) วัดเทียบเป็นมูลค่าทางธุรกิจได้ยาก • สามารถแปลงสภาพให้กลายเป็นสินทรัพย์ที่สามารถวัดเทียบมูลค่าออกมาได้และสามารถทำให้มีสภาพคล่องได้ (พิพัฒน์ ก้องกิจกุล, 2548, หน้า 39) • ทุนมนุษย์ (Human Capital)หมายถึง เทคโนโลยีความรู้ทักษะ และสมรรถนะซึ่งติดตัวคนในองค์การ และมีความจำเป็นในการปฏิบัติงานเช่น ทักษะเชิงเทคนิค นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และสมรรถนะในการเป็นผู้นำซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) • องค์การสมัยใหม่ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในสังคมเศรษฐกิจที่เน้นองค์ความรู้ (Knowledge Economy) ถือว่าทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นทรัพย์สิน (Asset) ขององค์การเป็นทุนมนุษย์ที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างคุณค่า (Value Creation) ให้กับองค์การ

  16. ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) • ทุนมนุษย์ (Human Capital) เป็นการรวมความรู้ ทักษะ นวัตกรรมและความสามารถของพนักงานแต่ละคนในองค์การที่ทำงานด้วยตนเองทั้งรวมไว้ด้วยคุณค่า วัฒนธรรม และปรัชญาขององค์การและทุนมนุษย์ไม่ใช่สิ่งที่องค์การเป็นเจ้าของ • ทุนโครงสร้าง (Structural Capital) ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ฐานข้อมูลโครงสร้างองค์การ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า และทุกๆสิ่งที่เกี่ยวกับสมรรถภาพขององค์การซึ่งสนับสนุนผลิตภาพของพนักงาน หรือทุกๆสิ่งที่อยู่ในที่ทำงานเมื่อพนักงานกลับบ้านไปแล้ว • ทุนความสัมพันธ์ (Relationship Capital) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในองค์การ และระหว่างสมาชิกกับบุคคลภายนอกซึ่งรวมถึงผู้ผลิตสินค้า ลูกค้าหรือองค์กรอื่นๆ ทุนความสัมพันธ์นี้ จะเป็นพื้นฐานของความร่วมมือ และการทำงานร่วมกัน เช่นความไว้วางใจต่อกัน (Trust) ความผูกพันของลูกค้า (Loyalty) การร่วมผลิตสินค้า (Co – Production) และการตกลงยินยอมให้ดำเนินธุรกิจ (Licensing Agreement)

  17. ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) • สภาวะการแข่งขันในโลกปัจจุบัน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (Strategic HRD) เน้นการสร้างทุนมนุษย์และการจัดการความรู้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) มากกว่าที่จะเน้นการจับคู่คนให้เหมาะกับงานและกลยุทธ์ขององค์การแบบที่เป็นอยู่อย่างเดิมๆ ทุนทางปัญญา ทุนมนุษย์ ทุนโครงสร้าง ทุนความสัมพันธ์ + + =

  18. ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) • ทรัพยากรมนุษย์ในระดับผู้ปฏิบัติการ (Operation / TechnicalHR) เป็นผู้ใช้กำลังการหรือฝีมือแรงงานในด้านใดด้านหนึ่งในการปฏิบัติที่ต้องอาศัยทักษะ หรือความรู้ความชำนาญในหน้าที่ของตนหรือความชำนาญในทางเทคนิค มากกว่าการใช้กำลังความคิด • ทรัพยากรมนุษย์ในระดับผู้บริหารระดับต้น (Supervisor HR) ทำหน้าที่ควบคุมบังคับบัญชาให้ผู้ใต้บังคับบัญชา เช่น ระดับผู้ปฏิบัติการให้ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายของฝ่ายจัดการ ต้องมีความรู้ความชำนาญงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบและมีทักษะเบื้องต้นในการบริหารงานด้วย • ทรัพยากรมนุษย์ในระดับผู้บริหารระดับกลาง (Middle Manager HR)ต้องใช้ความรู้ความสามารถในการบริหารในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย • ทรัพยากรมนุษย์ในระดับผู้บริหารระดับสูง (Executive HR) ทำหน้าที่ในการตัดสินใจ วางนโยบายและแผนงาน อำนวยการและควบคุมงานทั้งหมดขององค์การ ลักษณะงานจึงต้องอาศัยความรู้ความสามารถในการบริหารและกำลังความคิดมาก

  19. Human resource for health • HRH, Health worker, Health workforce, Health personnel • Definition: people whose job it is to protect and improve the health of their community • People engaged in actions whose primary intent is to enhance health (World health report 2006) • Activities whose primary goal is to improve health (WHO)

  20. Occupational classifications for the health industry, South African census 2001 Source: World health report 2006 *International Standard Classification of Occupations

  21. Health workers in all sectors Source: World health report 2006

  22. Global health workforce, by density Source: World health report 2006

  23. Distribution of health workers by level of health expenditure & burden of disease, by WHO region Source: World health report 2006

  24. Rural-urban distribution of health service providers Source: World health report 2006

  25. Density of Health workers Source: World health report 2006

  26. Countries with a critical shortage of health service providers (doctors, nurses & midwives) Source: World health report 2006

  27. องค์ประกอบของการวิเคราะห์กำลังคนด้านสุขภาพองค์ประกอบของการวิเคราะห์กำลังคนด้านสุขภาพ Source: Thai Health profiles 2005-2007

  28. สัดส่วนประชากรต่อกำลังคนด้านสุขภาพสัดส่วนประชากรต่อกำลังคนด้านสุขภาพ Source: Thai Health profiles 2005-2007

  29. สัดส่วนแพทย์ตามสังกัด 2541-2548 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  30. สัดส่วนพยาบาล แยกตามสังกัด 2541-2548 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  31. สัดส่วนประชากรต่อแพทย์ จำแนกตามภาค Source: Thai Health profiles 2005-2007

  32. สัดส่วนประชากรต่อพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามภาค Source: Thai Health profiles 2005-2007

  33. สัดส่วนประชากรต่อเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยสัดส่วนประชากรต่อเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย Source: Thai Health profiles 2005-2007

  34. การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์แพทย์ ทันตแพทย์ 2547 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  35. การกระจายตัวทางภูมิศาสตร์เภสัชกร พยาบาล 2547 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  36. สัดส่วนแพทย์ทั่วไปและแพทย์เฉพาะทาง 2541-2549 แพทย์เฉพาะทาง แพทย์ทั่วไป Source: Thai Health profiles 2005-2007

  37. กำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข 2549 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  38. ข้าราชการของกระทรวงสาธารณสุข 2549 Source: Thai Health profiles 2005-2007

  39. Working Lifespan Strategies Source: World health report 2006

  40. Health Labor Market Abroad Public & private health facilities Overall HRH shortages Training institutions International organizations External brain drain Private-not-for-profit sector Public sector Management & administration MoH Rural facilities Private-for-profit sector Urban facilities Internal brain drain Attrition Due to illness, death, retirement, work in other sectors… Mal-distribution Source: Adapted from Van damm 2007

  41. Individualfactors (age, gender, background, ethnicity, etc.) Causes and consequences of imbalances of health personnel in Tak Organizational factors (recruitment, management style, salary, incentives) • Poor quality of • Health care • Health services • Health system • Main features • Health personnel shortage • Lack of stability • Low level of motivation Imbalance of health personnel Poor health outcomes Community factors(resource, infrastructure, amenities, etc.) Low performances Health care & Educational system (size/composition of health personnel, training,, CME, etc.) Source: Banyati, P. 2008

  42. HUMAN RESOURCES FOR HEALTH: FRAMEWORK Source: World health report 2006

  43. 5R HRMstrategies การแก้ปัญหาทรัพยากรมนุษย์ในระบบสุขภาพ 3R Health policy strategies Recruitment Redistribution Retention • Recruitment • Reposting • Retraining • Retention • Reuse

  44. ระบบคุณธรรม (Merit System)) ระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) อาศัยความเชื่อถือไว้วางใจ สนิทสนมคุ้นเคย ไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่ชัด การบริหารและสั่งการเป็นไปตามความพอใจของผู้มีอำนาจทำให้ทำได้เร็ว แบ่งเป็น ระบบเส้นสาย ระบบชุบเลี้ยง ระบบพรรคพวกหรือระบบพรรค ระบบชอบพอเป็นพิเศษ (Favoritism) ระบบญาตินิยม (Nepotism) ยั่งยืนถึงปัจจุบัน เพราะได้แรงสนับสนุนจากพรรคการเมือง • หลักความสามารถ (Competence) ในการสรรหาคัดเลือกคน • หลักความเสมอภาคในโอกาส (Equality of opportunity) ไม่มีการเลือกปฏิบัติ • หลักความมั่นคงในตำแหน่งหน้าที่ หรือความมั่นคงในชีวิต เป็นจุดอ่อน เพราะรัฐให้ความมั่นคงมากเกินไป • หลักความเป็นกลางทางการเมือง (Political Neutrality) พยายามไม่ให้ข้าราชการประจำเข้าไปฝักใฝ่ทางการเมืองมากเกินไป

  45. ความเหมือนและความแตกต่าง PM & HRM การบริหารงานบุคคล การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เน้นการควบคุม เน้นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า มีการวางแผนระยะสั้น มีการกำหนดหน้าที่เฉพาะด้าน มององค์การแบบสมัยดั้งเดิม ไม่ค่อยสนใจสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล สนใจแต่ประโยชน์องค์กร มีการกำหนดบทบาทบุคคลตายตัว มองคนเป็นต้นทุน เน้นให้ควบคุมตนเอง เน้นการทำงานแบบมีแบบแผน มีการวางแผนระยะยาว มีการกำหนดอำนาจหน้าที่หลายด้าน มององค์การแบบสมัยปัจจุบัน สนใจในสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล สนใจความต้องการพนักงาน มีการกำหนดบทบาทบุคคลที่ยืดหยุ่น มองบุคคลเป็นสินทรัพย์

  46. บทบาทใหม่ของผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์ • Strategic Partner • Change Agent • Administrative Expert • Employee Champion

  47. หน้าที่หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์หน้าที่หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจัดหาทรัพยากรมนุษย์ (HR Procurement) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HR Development) การธำรงรักษาทรัพยากรมนุษย์(HR Maintenance) การใช้ประโยชน์ทรัพยากรมนุษย์(HR Utilization) 47

  48. หน้าที่หลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์หน้าที่หลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ • การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance management) • การบริหารสมรรถนะ (Competency management) ใช้ประโยชน์

  49. 1. จัดหา : Procurement function การวางแผนทรัพยากรมนุษย์: กำหนดจำนวนที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา การสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ และพัฒนาบุคคลให้พร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ในทุกตำแหน่ง การวิเคราะห์งาน ออกแบบงาน:Job specification & Job description การเสาะแสวงหา (Recruitment) : รูปแบบ (ทำงานล่วงเวลา จ้างเหมาจ้างพนักงานชั่วคราว) วิธีการ (ภายใน ภายนอก) การคัดเลือก (Selection) : การรับสมัคร การตรวจสอบคุณสมบัติ วิธีการคัดเลือก เกณฑ์ในการคัดเลือก กรรมการคัดเลือก การบรรจุ แต่งตั้ง (Appointment) : รูปแบบ (ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง) การทดลองงาน

  50. เกณฑ์การกำหนดจำนวนบุคลากรตาม GIS Source: MOPH 2005

More Related