1 / 54

OSS - Link to Success

นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล. ISO 14001. OHSAS 18001. Halal - GMP/HACCP. OSS - Link to Success. การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี. ที่ตั้งโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี. DEEP SEA PORT. GULF OF THAILAND. PATTANI. HALAL FOODS INDUSTRIAL ESTATE.

mariko
Download Presentation

OSS - Link to Success

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ISO 14001 OHSAS 18001 Halal - GMP/HACCP OSS - Link to Success การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี

  2. ที่ตั้งโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี DEEP SEA PORT GULF OF THAILAND PATTANI HALAL FOODS INDUSTRIAL ESTATE HAAD YAI INTERNATIONAL AIR PORT PATTANI SADAO CHK. POINT THAILAND MALAYSIA THAILAND NARATHIWAT AIRPORT MALAYSIA KOTA BARU TAK BAI CHK. POINT N พื้นที่จำนวน 933 ไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ และ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ทิศเหนือ ติดต่อกับบ้านท่าสู อำเภอปะนาเระ ทิศใต้ ติดต่อกับถนน รพช. ซึ่งแยกมาจากทางหลวง หมายเลข 4061 ทิศตะวันออก ติดต่อกับถนนหมายเลข 4157 และอ่าวไทย ทิศตะวันตก ติดต่อกับคลองชลประทาน 1. ระยะทางจากท่าเรือ 2. ระยะทางจากสนามบิน หาดใหญ่ – ปัตตานี 110 กม. สงขลา – ปัตตานี 110 กม. สงขลา – ปะนาเระ 150 กม. หาดใหญ่ – ปะนาเระ 150 กม. นิคมอุตสาหกรรมไทยใสสะอาด มาตรฐานสากล เกื้อหนุนชุมชน

  3. ที่ตั้งโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี สัญลักษณ์ ทางหลวง จังหวัด แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทางรถไฟ อำเภอ หาดทราย เขตจังหวัด วัด มัสยิด ที่ตั้งโครงการ

  4. N 1:50,000 พื้นที่โครงการ 933 ไร่ ทางเข้าด้าน ร.ร.บ้านท่าสู ถนนเรียบชายทะเล คลองชลประทาน ลักษณะชายฝั่งทะเล โครงการพัฒนา พื้นที่พรุแฆแฆ สภาพพื้นที่ ภาพแสดงพื้นที่รอบบริเวณโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี

  5. ผังการใช้ที่ดินโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี (933 ไร่)

  6. โครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี ระยะที่ 1 (172 ไร่)

  7. ความคืบหน้าการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี 6 ส.ค. 2547ลงนามในสัญญาร่วมดำเนินงาน 8 ธ.ค. 2547ประกาศเขตนิคมอุตสาหกรรม 24 พ.ค. 2548รายงาน EIA ได้รับความเห็นชอบ 20 ก.ค. 2549 อนุมัติผังแม่บท (Master Plan) 23 พ.ย. 2549 ได้รับความเห็นชอบ ขยายระยะเวลาสัญญาร่วดำเนินงาน โครงการนิคมฯอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี ออกไปอีก 2 ปี จากเดิม ภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2549 เป็นภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2551

  8. ความคืบหน้าการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี 23 ธ.ค. 2551ได้รับความเห็นชอบ ขยายระยะเวลาสัญญาร่วมดำเนินงานโครงการ นิคมฯอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี จากเดิมภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2551 เป็น ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2552 สืบเนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดน ภาคใต้ ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ประกอบกับเกิดสภาวะวิกฤตทาง การเมืองของประเทศไทยและสภาวะวิกฤตการเงินจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทำให้ การดำเนินการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม มีความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนงาน ความคืบหน้าประมาณร้อยละ 25 ของแผนงาน ขณะนี้อยู่ระหว่าง การออกแบบรายละเอียด

  9. แผนการดำเนินงาน 24/5 6/8 31/3 8/12 20/7 ความคืบหน้าประมาณร้อยละ 25 ของแผนงานโครงการ

  10. การจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี

  11. ความเป็นมา • กนอ.ลงนามในสัญญาร่วมดำเนินงานกับ บ. ฟาตอนี อินดัสทรีส์ จำกัด เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2547 เพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี พื้นที่โครงการประมาณ 900 ไร่ โดยจะพัฒนาในระยะที่ 1 ประมาณ170 ไร่ • บ.ฟาตอนี อินดัสทรีส์ จำกัด ส่งมอบพื้นที่ 9 ไร่ ให้ กนอ. พัฒนาจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมฯอาหารฮาลาล เมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2549 • กนอ.ได้รับอนุมัติงบประมาณ จำนวน 82.842 ล้านบาท สำหรับการออกแบบ ก่อสร้าง และควบคุมงาน ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมฯอาหารฮาลาล ขนาดพื้นที่ 5,000 ตร.ม. ระยะเวลาดำเนินการ 5 ปี (2547 - 2552)

  12. วัตถุประสงค์ เพื่อดำเนินการออกแบบ ก่อสร้าง และควบคุมงานก่อสร้างศูนย์ OSS ให้บริการดังต่อไปนี้ - การอนุมัติอนุญาต - การรับรองมาตรฐาน Halal-GMP*/HACCP** - การบริการด้านส่งเสริมธุรกิจและการตลาด - การวิจัยและพัฒนาอาหารฮาลาล - การบริการด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และพลังงาน - การฝึกอบรม - การบริการสิ่งอำนวยความสะดวก GMP* = Good Manufacturing Practice HACCP** = Hazard Analysis Critical Control Point

  13. ความคืบหน้าโครงการ : การก่อสร้าง ผู้รับเหมาก่อสร้าง: หจก. ปัตตานีสหโยธา สัญญา : 450 วัน (18 พ.ค. 49 - 10 ส.ค. 50) กนอ. อนุมัติขยายระยะเวลาก่อสร้าง ตามมติ ครม. 18 ม.ค. 2548รวมระยะเวลาดำเนินการ 1,108 วัน(18 พ.ค. 49 - 29 พ.ค. 52) งบประมาณการจ้าง : 79.95 ล้านบาท - ก่อสร้างศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร ในพื้นที่ นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานีพื้นที่ใช้สอย 5,000 ตร.ม.

  14. อาคารบริการรับรองมาตรฐานอาคารบริการรับรองมาตรฐาน Halal-GMP/HACCP ห้องปฏิบัติการ LAB 1,000 ตร.ม. สถานที่ปฏิบัติศาสนกิจ ของมุสลิม 300 ตร.ม. 5 4 อาคารฝึกอบรม 300 ตร.ม. 3 หอประชุม Exhibition Hall 2,400 ตร.ม. 2 สนง.กนอ. OSS 1,000 ตร.ม. 1 สาธารณูปโภคภายในบริเวณและภูมิสถาปัตย์ ขนาดพื้นที่ 5,000 ตร.ม. จำนวน 5 อาคาร การจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี

  15. ความคืบหน้าปัจจุบัน การก่อสร้างศูนย์ OSS อาคาร 5 อาคาร 3 อาคาร 4 อาคาร 2 อาคาร 1 อาคารซ่อมบำรุง ภูมิสถาปัตย์

  16. ความก้าวหน้า การพัฒนาโครงการศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี พฤษภาคม 2552

  17. อาคาร 1 อาคารสำนักงาน 14 พฤษภาคม 2552

  18. อาคาร 2 อาคารนิทรรศการ 14 พฤษภาคม 2552

  19. อาคาร 3 อาคารห้องปฏิบัติการ 14 พฤษภาคม 2552

  20. อาคาร 4 อาคารปฏิบัติศาสนกิจ 14 พฤษภาคม 2552

  21. อาคาร 5 อาคารฝึกอบรม 14 พฤษภาคม 2552

  22. อาคาร 6 อาคารซ่อมบำรุง 14 พฤษภาคม 2552

  23. อาคารที่จอดรถ 14 พฤษภาคม 2552

  24. อาคาร ป้อมยาม รั้ว 14 พฤษภาคม 2552

  25. ศาลา 14 พฤษภาคม 2552

  26. ทางเชื่อมระหว่างอาคารทางเชื่อมระหว่างอาคาร 14 พฤษภาคม 2552

  27. ถนนทางเข้าโครงการ 14 พฤษภาคม 2552

  28. การดำเนินการของ อก. ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้บริบทต่างๆ การดำเนินงานตามกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2552 - 2555 การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาชีพและรายได้แก่ผู้มีรายได้น้อยให้พึ่งตนเองได้ การพัฒนาคุณภาพคนเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำและยกระดับคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และการพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ 1. โครงการศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์แพะ/แกะในตลาดคูเวตและตลาดอื่นในแต่ละระดับและแนวทางการพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ (5.00 ล้านบาท) 2. โครงการบริหารจัดการแผนงานบูรณาการโครงการพัฒนาเขตพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (28.550 ล้านบาท) 1. โครงการสนับสนุนอุตสาหกรรมเพื่อการสหกรณ์ห้องเย็นและตลาดกลางผัก ผลไม้ จังหวัดปัตตานี (8.55 ล้านบาท) โครงการที่ได้รับงบเพิ่มเติมปี 52 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมไก่เบตงครบวงจร ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (18.000 ล้านบาท) 4. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (14.98 ล้านบาท) • โครงการอุตสาหกรรมเพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืนในพื้นที่ 3 จชต. (19.865 ล้านบาท) 2. โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกายมุสลิมในพื้นที่ จชต. (4.9 ล้านบาท) • โครงการจัดตั้ง IMT-GT PLAZA จังหวัดสงขลา(4.914 ล้านบาท) • โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการยางพาราสู่การเป็นผู้ส่งออกระดับนานาชาติ • โครงการจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล(ปัตตานี) งานประจำ • โครงการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม Cluster • โครงการป้องกันผลกระทบด้านมลพิษของสถานประกอบการ • โครงการบริหารจัดการข้อมูลโรงงานและการวิเคราะห์สภาวะอุตสาหกรรม • โครงการบริหารจัดการด้านมลพิษและสิ่งแวดล้อม • โครงการบริหารจัดการลุ่มน้ำและวางระบบธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม • โครงการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมในส่วนภูมิภาค โครงการที่ได้งบจากหน่วยงาน

  29. โครงการพัฒนา คลัสเตอร์ฮาลาลจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. กลุ่มทุเรียน จ.ยะลา มีสมาชิกทุเรียนกวนและทุเรียนทอดกรอล 13 กลุ่มวิสาหกิจ โครงการที่ของบ ศอ.บต. 2. กลุ่มกล้วย จ.ยะลา มีสมาชิก 14 กลุ่ม วิสาหกิจ 3. กลุ่มทุเรียน จ.นราธิวาส มีสมาชิก 11 กลุ่ม วิสาหกิจ 48 ราย 4. กลุ่มบูดู จ. นราธิวาส มีสมาชิก 19 ราย 5. กลุ่มข้าวเกรียบ จ.ปัตตานี มีสมาชิก 37 ราย - โครงการพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม โรงงานยางพาราของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์สวนยาง โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด - โครงการผลิตผู้ประกอบการ SMEs รายใหม่ จ.สงขลา - โครงพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการชุมชนและท้องถิ่น จ. สงขลา จ. สงขลา โครงการที่ใช้งบกลุ่มจังหวัด / จังหวัด จ. ปัตตานี - โครงการจัดทำมาตรฐาน GMP/HACCC/HALAL - โครงการแปรรูปกะทิสำเร็จรูป - โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และฉลากสินค้า OTOP จ. สตูล - ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแปรรูปจากปลากะตักและกะปิ - โครงการพัฒนาคลัสเตอร์น้ำบูดู - โครงการพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมประเภทอาหาร จ. นราธิวาส

  30. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม

  31. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วัตถุประสงค์และเป้าหมาย • เพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจำนวน 100 ราย รอบนิคมฯอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี ให้มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ฮาลาลที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัตถุดิบในพื้นที่ สู่มาตรฐานสากล และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ สถานที่ดำเนินการ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร นิคมฯ อาหารฮาลาล อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี งบประมาณ 14.98 ล้านบาท หน่วยงานที่รับผิดชอบกนอ.

  32. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน การส่งเสริมด้านการผลิต การส่งเสริมด้านการจำหน่าย การประเมินผล จัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อกำหนดออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ครุภัณฑ์ให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ฮาลาล จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดำเนินการผลิตผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน ติดตามผลและให้คำปรึกษาแนะนำการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ฮาลาล • จัดเตรียมสถานที่สำหรับวางสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ และจัดจ้างออกแบบตกแต่งอาคาร • จัดซื้อครุภัณฑ์ • ห้องแสดงสินค้า • ห้องประชุม/ฝึกอบรม • ห้องปฏิบัติศาสนกิจของมุสลิม • ดำเนินการฝึกอบรมการบริหารจัดการด้านการตลาดในการกระจายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ประเมินผลและจัดทำรายงานสรุป

  33. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประโยชน์โดยตรง • การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีในด้านการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ฮาลาล และการบริหารจัดการด้านการตลาดในการกระจายสินค้าและผลิตภัณฑ์ไปสู่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ • มีศูนย์กลางการพัฒนาและกระจายผลิตภัณฑ์ฮาลาลในพื้นที่ • สร้างงานและสร้างอาชีพให้ประชาชนในพื้นที่โดยรอบ ประโยชน์โดยอ้อม • ประชาชนในประเทศทั้งในระดับชุมชน จังหวัด และระดับประเทศมีโอกาสทางเลือกในการอุปโภค บริโภค สินค้าที่มีคุณภาพได้ตามระดับมาตรฐานสากล ที่มีราคาเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน • เกิดการจ้างงานในระดับชุมชน ท้องถิ่น ทำให้เกิดการกระจายรายได้

  34. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ด้านการกระตุ้นเศรษฐกิจ • ด้านการพัฒนายกระดับ วิสาหกิจ ชุมชน ขนาดกลางและขนาดย่อม ในพื้นที่ให้เป็นผู้ประกอบการรายใหม่ ในการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ฮาลาล ที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน • สามารถเพิ่มปริมาณการผลิต และมูลค่าสินค้า ทำให้สามารถกระจายสินค้าออกไปยังแหล่งอุปโภค บริโภคต่าง ๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับประเทศ • เนื่องจาก ภาครัฐเป็นผู้ลงทุนจัดตั้งศูนย์พัฒนาและกระจายผลิตภัณฑ์ฮาลาล โดยในรอบ 6 เดือนแรก จะไม่คิดค่าใช้จ่ายค่าเช่าเครื่องจักรอุปกรณ์ จนกว่าประชาชนในพื้นที่จะสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานในการจัดจำหน่าย อันจะนำไปสู่การเพิ่มโอกาสการลงทุนของภาคเอกชนรายใหม่ โดยสามารถสร้างรายได้หมุนเวียนในครัวเรือน และกระตุ้นให้มีการซื้อขายสินค้าและเศรษฐกิจหมุนเวียน รวมไปถึงสามารถกระจายสินค้าในพื้นที่สู่ตลาดภายนอกต่อไป

  35. แผนปฏิบัติงานโครงการตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ระยะเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2552 โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 22 เม.ย. 52 แผนการดำเนินงาน milestone ผลการดำเนินงาน

  36. แผนปฏิบัติงานโครงการตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ระยะเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2552 โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม แผนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน milestone

  37. คณะกรรมการอำนวยการโครงการฯคณะกรรมการอำนวยการโครงการฯ สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย องค์ประกอบ 1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี (เศรษฐกิจ) ประธานคณะกรรมการ 2. รองผู้ว่าการ (ยุทธศาสตร์)กนอ. กรรมการ 3. นายอำเภอปะนาเระ หรือผู้แทน กรรมการ 4. นายอำเภอสายบุรี หรือผู้แทน กรรมการ 5. ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี หรือผู้แทน กรรมการ 6. ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๑๑ หรือผู้แทน กรรมการ 7. อุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี หรือผู้แทน กรรมการ 8. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดปัตตานี หรือผู้แทน กรรมการ 9. พัฒนาชุมชนจังหวัดปัตตานี หรือผู้แทน กรรมการ 10. สหกรณ์จังหวัดปัตตานี หรือผู้แทน กรรมการ 11. รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กรรมการ วิทยาเขตปัตตานี หรือผู้แทน 12. ผู้อำนวยการฝ่ายชุมชนสัมพันธ์กนอ. กรรมการ 13. ผู้อำนวยการฝ่ายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย กนอ. กรรมการและเลขานุการ อำนาจหน้าที่ 1. อำนวยการ และส่งเสริมสนับสนุนการ ดำเนินโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ และ เป็นรูปธรรม 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการ ดำเนินงานโครงการ และให้ความช่วยเหลือ แนะนำสนับสนุนการแก้ไขปัญหาอุปสรรค 3. รายงานความคืบหน้าของการดำเนิน โครงการ เสนอต่อ จังหวัดปัตตานี และ กนอ. ทราบเป็นระยะๆ

  38. คณะทำงานโครงการฯ สำนักงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย องค์ประกอบ 1. ผู้อำนวยการกองบริหารโครงการ ประธานคณะทำงาน 2. ผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์คณะทำงาน 3. นายอัมพร น้อยหิรัญ คณะทำงาน 4. นายธีรวุฒิ เจริญสุข คณะทำงาน 5. นายวิชชา ทรงประยูร คณะทำงาน 6. นางบุปผา กวินวศิน คณะทำงานและเลขานุการ อำนาจหน้าที่ 1. จัดทำแผนงานและดำเนินโครงการให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ 2. ติดตามและประเมินผลความก้าวหน้าของ โครงการ และรายงานต่อคณะกรรมการ อำนวยการโครงการส่งเสริมและสนับสนุน อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดย่อม เพื่อทราบ 3. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

  39. การจัดสัมมนาส่งเสริมวิสาหกิจ และ SMEs ให้ได้รับการรับรอง GMP , HACCP และ Halal เมื่อวันที่ 22 เม.ย. 52 ณ โรงแรม ซีเอส ปัตตานี กำหนดการสัมมนาส่งเสริมวิสาหกิจและ SMEs ให้ได้รับการรับรอง GMP, HACCP และ HALAL วันที่ 22 เมษายน 2552 ณ ห้องน้ำพราว 2 โรงแรมซี.เอส. ปัตตานี ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 8.30 น. – 9.00 น. ลงทะเบียน 9.00 น. – 9.30 น. พิธีเปิด โดย นายธีรเทพ ศรียะพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี 9.30 น. – 10.30 น. ฮาลาลสำคัญอย่างไร โดย คุณอาซิส พิทักษ์คุมพล ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขลา 10.30 น. – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.45 น. – 12.00 น. การประยุกต์ใช้ GMP กับ อาหารฮาลาล โดย คุณสมชาย โกมลยิ่งเจริญ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร 12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 13.30 น. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดย คุณสมจินต์ พิลึก ผู้จัดการโครงการนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 13.30 น. – 14.30 น. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์อาหาร โดย คุณอนันต์ ธำรงวิศว ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 14.30 น. – 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.45 น. – 17.00 น. โครงการส่งเสริมพัฒนาวิสาหกิจและ SMEs ให้ได้รับการรับรอง GMP, HACCP และ HALAL ประจำปี 2552 โดย คุณรศนา ศาสน์พิสุทธิกุล การประเมินตนเองของผู้ประกอบการ โดย วิทยากรประจำกลุ่ม

  40. การให้คำปรึกษาแนะนำส่งเสริมวิสาหกิจ และ SMEs ให้ได้รับการรับรอง GMP , HACCP และ Halal ร่วมกับ มอ.ปัตตานี สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี สำหรับ OTOP SMEs รวม 10 แห่ง

  41. แผนการให้คำปรึกษาแนะนำสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการแผนการให้คำปรึกษาแนะนำสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ

  42. โครงการส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล สำหรับผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตามมติคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 52 รับทราบและเห็นชอบแผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2552 -2555 โดยมีโครงการส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์ฮาลาล สำหรับผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม งบประมาณ 415.14 ล้านบาท อยู่ในแผนดังกล่าวโดยดำเนินการ ออกแบบรายละเอียดระบบสาธารณูปโภคส่วนกลางสำหรับนิคมฯ ขนาดพื้นที่ 50 ไร่ และออกแบบอาคารโรงงานมาตรฐานสำหรับ SME พื้นที่รวม 20,000 ตร.ม. 1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2555 415,140,000 บาท งบประมาณ

  43. สรุปภาพรวมแผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1 แผนการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตประชาชนในระดับหมู่บ้าน 2 แผนการอำนวยความเป็นธรรมและความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3 แผนการพัฒนาคุณภาพคนพหุวัฒนธรรมและมาตรฐานบริการสังคม 4 แผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการลงทุน 5 แผนการพัฒนาความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน 6 แผนการปรับปรุงกฎระเบียบและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

  44. แผนการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตประชาชนในระดับหมู่บ้านแผนการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตประชาชนในระดับหมู่บ้าน

  45. แผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการลงทุนแผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการลงทุน

  46. แผนการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการลงทุน (ต่อ) รวม 2 กลยุทธ์ 841.9608

  47. สาระสำคัญโครงการ จัดตั้งนิคมฯ ฮาลาล จ.ปัตตานี ขนาดพื้นที่ 50 ไร่ โดยรัฐเป็นผู้ร่วมลงทุนกับภาคเอกชน และภาคเอกชนลงทุนเรื่องพื้นที่ • ออกแบบรายละเอียดระบบสาธารณูปโภคส่วนกลางสำหรับนิคมฯ ขนาดพื้นที่ 50 ไร่ และออกแบบอาคารโรงงานมาตรฐานสำหรับ SME พื้นที่รวม 20,000 ตร.ม. • พัฒนาก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคส่วนกลาง • ก่อสร้างอาคารโรงงานมาตรฐานสำหรับ SME • ฝึกอบรมผู้ประกอบการ SMEs ในด้านการผลิตและมาตรฐานฮาลาล • ประชาสัมพันธ์และการตลาด

  48. บ. ฟาตอนี อินดัสทรีส์ จำกัด ได้แจ้งหนังสือที่ FIT002/2552 ลงวันที่ 24 เม.ย. 52แสดงความประสงค์ส่งมอบพื้นที่ ในนิคมฯ อาหารฮาลาล จ.ปัตตานี รวมพื้นที่ 45 ไร่

More Related