1 / 12

รศ.ดร.พิศาล ศิริธร

“ ประชาพิจารณ์ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ฉบับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ” ภาพรวม วันอังคารที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี. รศ.ดร.พิศาล ศิริธร.

markku
Download Presentation

รศ.ดร.พิศาล ศิริธร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาพิจารณ์ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ฉบับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ” ภาพรวมวันอังคารที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี รศ.ดร.พิศาล ศิริธร

  2. ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดประเด็นวิจัยในการจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบบมีส่วนร่วม บริบทการเปลี่ยนแปลง • สภาวะโลกร้อนและภูมิภาคอากาศแปรปรวน • ราคาน้ำมันสูงขึ้น • ข้อตกลงการค้าเสรี • โครงสร้างประชากร (สังคมผู้สูงอายุ) • แรงงานออกจากภาคเกษตรเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม • การเคลื่อนย้ายคนและแรงงาน (ประเทศเพื่อนบ้าน) •  ความไม่มั่นคงทางการเมือง ผลกระทบ • แรงงานและความยั่งยืนภาคเกษตรกรรม •  ความมั่นคงทางอาหาร / พืชพลังงาน •  คุณภาพชีวิต (สังคมพึ่งพิง โรคอุบัติใหม่และยาเสพติด) •  การค้าและการลงทุน การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงบนศักยภาพ / บริบทของภูมิภาค โดยกระบวนการ และฐานองค์ความรู้จากการวิจัยได้อย่างไร ?

  3. ภาพที่ 2 แผนการดำเนินงาน การจัดทำยุทธศาสตร์วิจัย ( พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด / จังหวัด (Area) บริบทการเปลี่ยนแปลงภายนอกและภายในประเทศ นโยบายรัฐบาล (Agenda) บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน (Function) ประมวลและวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต(Scenario) • นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยชาติ (2551-2554) • นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยระยะยาว(2551-2571) • การปฏิรูประบบวิจัย • จัดทำร่างยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ฉบับร่างที่ 1) • การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในจังหวัด / กลุ่มจังหวัด • จัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ฉบับร่างที่ 2) • ระดมความคิดและประชาวิจารณ์ • จัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ฉบับร่างที่ 3)

  4. ร่างยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบบมีส่วนร่วม วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงานวิจัย

  5. ยุทธศาสตร์ที่1การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (ประชาชน,การศึกษา,สุขภาพ,ศาสนา และวัฒนธรรม)

  6. (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีใหม่ ด้านเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม สังคม ศาสนา วัฒนธรรม คน/ชุมชน การบริหารจัดการงานวิจัย การศึกษา

  7. (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร่าง) กลุ่มเรื่องวิจัยเร่งด่วนที่ควรมุ่งเน้นตาม ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ.2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนเข้มแข็ง การป้องกันโรคและรักษาสุขภาพ การจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดการทรัพยากรดินและป่า การพัฒนาด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ภาวะโลกร้อนและพลังงานทางเลือก ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การบริหารจัดการการท่องเที่ยว

  8. (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่าง นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555-2559) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.2553

  9. (ร่าง) กลุ่มเรื่องวิจัยเร่งด่วนที่ควรมุ่งเน้นตาม ยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ.2555-2559) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนเข้มแข็ง การป้องกันโรคและรักษาสุขภาพ การจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดการทรัพยากรดินและป่า การพัฒนาด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ภาวะโลกร้อนและพลังงานทางเลือก ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การบริหารจัดการการท่องเที่ยว กลุ่มเรื่องวิจัยที่ควรมุ่งเน้น 1. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง 2. ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้าง ธรรมาภิบาล 3. การปฏิรูปการศึกษา 4. การจัดการน้ำ 5. ภาวะโลกร้อนและพลังงานทางเลือก 6. การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก และลดการนำเข้า 7. การป้องกันโรคและการรักษาสุขภาพ 8. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา คุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ 9. เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่อ อุตสาหกรรม 10. การบริหารจัดการการท่องเที่ยว 11. สังคมผู้สูงอายุ 12. ระบบโลจิสติกส์

  10. ..ขอบคุณ รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.nrct.go.th/downloads/d20100807005625.pdf

More Related