1 / 39

สิ่งที่ต้องจัดหาสำหรับระบบงานในอุตสาหกรรม

สิ่งที่ต้องจัดหาสำหรับระบบงานในอุตสาหกรรม. ระบบงาน.   . ฮาร์ดแวร์ที่รองรับระบบงาน (ระบบคอมพิวเตอร์). ระบบเครือข่าย. ระบบงานในงาน อุตสาหกรม. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม. 1. การจัดการสารสนเทศ ( Information Management ) 2. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ และ วิเคราะห์

marli
Download Presentation

สิ่งที่ต้องจัดหาสำหรับระบบงานในอุตสาหกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิ่งที่ต้องจัดหาสำหรับระบบงานในอุตสาหกรรมสิ่งที่ต้องจัดหาสำหรับระบบงานในอุตสาหกรรม ระบบงาน    ฮาร์ดแวร์ที่รองรับระบบงาน (ระบบคอมพิวเตอร์) ระบบเครือข่าย

  2. ระบบงานในงาน อุตสาหกรม

  3. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม 1. การจัดการสารสนเทศ ( Information Management ) 2. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ และ วิเคราะห์ 3. การควบคุมเครื่องมือ หรือ กระบวนการผลิต และ ตรวจสอบคุณภาพ โดยงานทั้ง 3 นี้ต้องมีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี การทำงานในลักษณะนี้ เรียกรวมกันว่า ( Computer Integrated Manufacturing : CIM )

  4. CIM วัตถุประสงค์หลัก คือ การเชื่อมต่อระหว่างระบบที่ทำการผลิตแบบอัตโนมัติเข้ากับการจัดการสารสนเทศแบบดั้งเดิม • การผลิตแบบอัตโนมัติ • การจัดการสารสนเทศแบบดั้งเดิม • ระบบ CIM ในโรงงานอุตสาหกรรม /

  5. การผลิตแบบอัตโนมัติ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบและผลิต ( CAD / CAM ) 2. การควบคุมเครื่องมือซึ่งทำงานด้วยคำสั่งลักษณะตัวเลข ( NC : Numerical Control Machine ) 3. การควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 4. การจัดการวัตถุดิบอัตโนมัติ /

  6. สารสนเทศแบบดั้งเดิม 1. การจัดการทางบัญชี 2. การจัดซื้อ 3. การควบคุม Stock 4. การจัดการด้านการตลาด /

  7. ระบบ CIM ในโรงงานอุตสาหกรรม ฝ่ายออกแบบ (Design Section) ฝ่ายจัดการ (Management Section) ศูนย์สารสนเทศ (Centralized Information Section) ฝ่ายผลิต (Production Section) ฝ่ายวิศวกรรม (Engineering Section)

  8. ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล CIM 1. ลดเวลาและต้นทุนการผลิตในส่วน ของการออกแบบ และ กระบวนการผลิต 2. ความผิดพลาดน้อยลง 3. ลดขั้นตอนการผลิตสินค้า 4. สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ 5. วัสดุสิ้นเปลืองลดลง 6. วางแผนงานได้ /

  9. การเตรียมการเพื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้การเตรียมการเพื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้ ใช้เพื่ออะไร คุ้มไหม มีบุคลากรที่มีความรู้ด้าน คอมพิวเตอร์หรือยัง ควรรู้จักเทคโนโลยี เสียก่อน ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยงาน มิใช่มาแทนที่พนักงาน

  10. ประโยชน์ของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรมประโยชน์ของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม • ความคล่องตัวในการผลิตสินค้า • ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อตลาด • ไม่มีการจัดการเก็บข้อมูลหลายครั้ง /

  11. ข้อเสีย • ราคาแพง • ต้องการบุคลากรที่มีความสามารถ /

  12. ฮาร์ดแวร์ที่รองรับระบบงาน (ระบบคอมพิวเตอร์) • พื้นฐานคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม • ระบบคอมพิวเตอร์ /

  13. พื้นฐานคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ CAM : COMPUTER AIDED MANUFACTURING การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานผลิต /

  14. CAD การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ช่วยในการดัดแปลง วิเคราะห์ และหาหนทางที่ดีที่สุดในการออกแบบ /

  15. CAD องค์ประกอบ • HARDWARE • SOFTWARE HARDWARE ระบบคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง จอภาพกราฟิก อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า /

  16. HARDWARE • ระบบคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง • จอภาพกราฟิก • อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า /

  17. SOFTWARE • โปรแกรมสร้างงานกราฟิก • โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง • ( COMPUTER AIDED ENGINEERING) /

  18. ทำไมจึงใช้ CAD • เพิ่มผลผลิต • เพิ่มคุณภาพให้กับงาน • ลดปัญหาเกี่ยวกับข้อมูลผิดพลาด • สร้างฐานข้อมูลสำหรับงานอุตสาหกรรม /

  19. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการรออกแบบการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการรออกแบบ พิจารณาความต้องการ ลองออกแบบ การออกแบบรูปทรงเรขาคณิต วิเคราะห์แบบ การวิเคราะห์ทางวิศวกรรม การตรวจและประเมินแบบ ประเมินแบบ ลอกแบบ การวาดภาพอัตโนมัติ /

  20. ประโยชน์ของ CAD • ค่าใช้จ่ายลดลง • ลดเวลา • ง่ายต่อการดัดแปลง • แบบมีมาตรฐาน • ลดความผิดพลาด • ง่ายต่อการทำความเข้าใจ /

  21. CAM คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยจัดการกับกระบวนการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรม /

  22. CAM แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในงานผลิตโดยตรง 2. การใช้คอมพิวเตอร์ในงานผลิตทางอ้อม /

  23. 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในงานผลิตโดยตรง ระบบคอมพิวเตอร์ กระบวนการผลิต เก็บข้อมูล ระบบคอมพิวเตอร์ กระบวนการผลิต สัญญาณสั่งงาน

  24. 2. การใช้คอมพิวเตอร์ในงานผลิตทางอ้อม ระบบคอมพิวเตอร์ การจัดการในโรงงาน สัญญาณสั่งงาน • นำข้อมูลประมวลผล • สรุป • วางแผน • เช่น งานบัญชี งานวางแผน การจัดการวัตถุดิบ การจัดการในโรงงาน

  25. การใช้ CAD ร่วมกับ CAM ออกแบบรูปกราฟิก ควบคุมเครื่องมือการผลิต ฐานข้อมูลร่วม วิเคราะห์แบบ วางแผนกระบวนการผลิต ควบคุมหุนยนต์อุตสาหกรรม ทดสอบ วาดแบบ การจัดการในโรงงาน

  26. CAD / CAM ในงานอุตสาหกรรม แนวคิดในการออกแบบ ฝ่ายออกแบบ วาดแบบ ตลาดลูกค้า สั่งซื้ออุปกรณ์ วางแผนการผลิต ตรวจสอบคุณภาพ กระบวนการผลิต กำหนดตารางเวลาการผลิต

  27. CAD / CAM

  28. ระบบคอมพิวเตอร์ • HARDWARE • SOFTWARE • ภาษาคอมพิวเตอร์

  29. HARDWARE • หน่วยประมวลผลกลาง CPU • หน่วยความจำ Memory Unit • หน่วยรับข้อมูล / แสดงผลลัพธ์ออก ( Input / Output )

  30. หน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่จัดการกับข้อมูลและควบคุมการทำงานของระบบ เป็นส่วนสำคัญในการกำหนดประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ • หน่วยควบคุม • หน่วยจัดการทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์

  31. หน่วยความจำ • หน่วยความจำหลัก RAM , ROM • หน่วยความจำเสริม STORAGE

  32. หน่วยรับข้อมูล และ แสดงผล มีหน้าที่ติดต่ออุปกรณ์รอบข้างที่ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ • รับข้อมูล ( Input ) • แสดงผลข้อมูล ( Output )

  33. ซอฟท์แวร์ คำสั่ง หรือ กลุ่มคำสั่ง ข้อมูล ที่ป้อนให้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดให้ ฮาร์ดแวร์ทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ • ซอฟท์แวร์ระบบ • ซอฟท์แวร์ประยุกต์

  34. ซอฟท์แวร์ระบบ เป็นซอฟท์แวร์ที่สร้างขึ้นมาเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์ • ระบบปฎิบัติการ เช่น Dos , Windows , Unix • ตัวแปลภาษา คือ โปรแกรมที่ใช้ช่วยงาน แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่น C , Basic , Pascal ,

  35. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟท์แวร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง อาจเขียนด้วยภาษาใดก็ได้ • ซอฟท์แวร์จัดการฐานข้อมูล • ซอฟท์แวร์สำหรับพิมพ์รายงาน • ซอฟท์แวร์สำหรับงานทางสถิติ • ซอฟท์แวร์สำหรับงานกราฟิก • ซอฟท์แวร์สำหรับทำสินค้าคงคลัง

  36. ภาษาคอมพิวเตอร์ กลุ่มคำสั่ง ข้อมูล ที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ • ภาษาระดับต่ำ • ภาษาระดับสูง

  37. ภาษาระดับต่ำ มีองค์ประกอบภาษาขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ สามารถติดต่อคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง ซึ่งคำสั่งจะอยู่ในรูปแบบของ • รหัสเลขฐานสอง ติดต่อคอมพิวได้โดยตรง • รหัสเลขฐาน 8 หรือ 16 โดยจะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองก่อน • รหัสสัญลักษณ์ ใช้ตัวอักษรแทนคำสั่ง และ บางส่วนเป็นตัวเลขจะถูกแปลงเป็นเลขฐานสอง ( ภาษาแอสเซมบลี )

  38. ตัวอย่างภาษาแอสเซมบลีตัวอย่างภาษาแอสเซมบลี ORG 100 MOV A,02 ADD B MOV A,B

  39. ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่มีโครงสร้าง ใช้ตัวอักษรที่เป็นภาษาเข้าใจง่ายแทนคำสั่ง ที่ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ ผ่านตัวแปลภาษา ซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ • คอมไพเลอร์ โดยการแปลคำสั่งทีเดียวทั้งโปรแกรม ( C , Pascal , Fortran ) • อินเตอร์พรีเตอร์ แปลทีละคำสั่ง ส่งไปยัง CPU ( Basic )

More Related