1 / 21

ดร.บัณฑิต อุชชิน

ประเด็นความผิด ที่มักถูกสรรพากรประเมิน. ดร.บัณฑิต อุชชิน. ถือเป็น "เงินได้" ที่ต้องนำมารวมคำนวณ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรือไม่?. ประกันภัย/ประกันชีวิต. ประกันภัย ประกันชีวิต กลุ่ม. บริษัท ประกันภัย พนักงาน ประกันชีวิต. เบี้ยประกันฯ/ ผลประโยชน์

Download Presentation

ดร.บัณฑิต อุชชิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นความผิด ที่มักถูกสรรพากรประเมิน ดร.บัณฑิต อุชชิน

  2. ถือเป็น "เงินได้" ที่ต้องนำมารวมคำนวณ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรือไม่?

  3. ประกันภัย/ประกันชีวิตประกันภัย/ประกันชีวิต ประกันภัย ประกันชีวิต กลุ่ม บริษัท ประกันภัย พนักงาน ประกันชีวิต เบี้ยประกันฯ/ ผลประโยชน์ ไม่ต้องนำมาเสียภาษี ข้อ77 กฎกระทรวง 126ฯ ม. 42(13) ป.ร.ก. เบี้ยประกันฯ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม 65ตรี (3)(13)

  4. ประกันภัย/ประกันชีวิตประกันภัย/ประกันชีวิต ประกันภัย ประกันชีวิต บริษัท ประกันภัย พนักงาน ประกันชีวิต เบี้ยประกันฯ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม ตาม ม. 65ตรี (3)(13) เบี้ยประกันฯ ต้อง นำมาคำนวณภาษี ม. 40(1) ผลประโยชน์ฯ ไม่ต้องนำมาเสียภาษี ม. 42(13)

  5. ข้อสังเกต...ประกันภัย/ประกันชีวิตข้อสังเกต...ประกันภัย/ประกันชีวิต • จ่ายให้กับพนักงาน/กรรมการ เป็นการทั่วไป • จ่ายตามมติที่ประชุมบริษัท/ตามระเบียบบริษัท • ผู้รับประโยชน์เป็นบริษัท ครอบครัว/ทายาทกรรมการก็ได้

  6. Welfare - สวัสดิการ อำนวยประโยชน์แก่กิจการ หรือไม่ แจกทุนการศึกษา แก่บุตรพนักงาน ให้เป็นการทั่วไป/มีระเบียบชัดเจน หรือไม่ แจกทุนการศึกษา แก่พนักงาน ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีตาม ม. 42(11) หรือไม่ (กรณีเป็นรางวัลเพื่อการศึกษา) บริษัท สามารถนำต้นทุนมาเป็นรายจ่ายได้ พนักงาน ไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษี

  7. สวัสดิการ ส่วนลดสินค้าราคาถูก ส่วนลดค่าสินค้า เพื่อขายให้พนักงาน ในราคาถูก บริษัท พนักงาน มีระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง เป็นการทั่วไป หรือไม่ และมีมูลค่าตามสมควร หรือไม่ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม ม. 65 ตรี (3)(13) ส่วนลดฯ ไม่ต้องนำมาเสียภาษี ม. 42(10) ส่วนลดที่ให้ ไม่ถือเป็นรายได้

  8. สวัสดิการ ส่วนลดสินค้าราคาถูก เงินช่วยเหลือต่างๆ งานแต่ง งานศพ ค่าคลอดบุตร บริษัท พนักงาน มีระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง เป็นการทั่วไป หรือไม่ และมีมูลค่าตามสมควร หรือไม่ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม ม. 65 ตรี (3)(13) ไม่ต้องนำมาเสียภาษี ม. 42(10)

  9. สวัสดิการ ส่วนลดสินค้าราคาถูก สวัสดิการ บ้านพักตากอากาศ โรงแรมพักผ่อน บริษัท พนักงาน มีระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง เป็นการทั่วไป หรือไม่ และมีมูลค่าตามสมควร หรือไม่ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม ม. 65 ตรี (3)(13) ต้องนำมาเสียภาษี ไม่มีข้อยกเว้นในกฎหมาย

  10. สวัสดิการ ส่วนลดสินค้าราคาถูก สวัสดิการ บ้านเช่า (น้ำ ไฟ) ให้อยู่อาศัยฟรี บริษัท พนักงาน มีระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง เป็นการทั่วไป หรือไม่ ต้องนำมาเสียภาษี ไม่มีข้อยกเว้นในกฎหมาย เว้นแต่ เป็นกรณี ข้อ 2(8) กฎกระทรวง 126ฯ เป็นรายจ่าย ไม่ต้องห้าม ม. 65 ตรี (3)(13)

  11. รายจ่าย ที่เป็นประเด็น เสมอๆ

  12. รายจ่ายนอกประเทศ รายจ่ายเกินปกติ เงินเดือนหุ้นส่วนเกินเหตุ ทรัพยากรสิ้นเปลือง เงินกองทุน รายจ่ายให้กับหุ้นส่วน ทรัพย์สินตีราคาต่ำ รายจ่ายส่วนตัว รายจ่ายการกุศล รายจ่ายกำหนดเอง รายจ่ายไม่มีผู้รับ เงินสำรองต่างๆ รายจ่ายโดยเสน่หา ซื้อขาย ท/ส ตนเอง รายจ่ายจากผลกำไร ค่ารับรอง ดอกเบี้ยเงินสำรอง รายจ่ายทำนองนี้ รายจ่ายฝ่ายทุน ผลเสียหายได้คืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม รายจ่ายไม่เกี่ยวข้อง เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่ม

  13. รายจ่ายนอกประเทศ รายจ่ายเกินปกติ เงินเดือนหุ้นส่วนเกินเหตุ ทรัพยากรสิ้นเปลือง เงินกองทุน รายจ่ายให้กับหุ้นส่วน ทรัพย์สินตีราคาต่ำ รายจ่ายส่วนตัว รายจ่ายการกุศล รายจ่ายกำหนดเอง รายจ่ายไม่มีผู้รับ เงินสำรองต่างๆ รายจ่ายโดยเสน่หา ซื้อขาย ท/ส ตนเอง รายจ่ายจากผลกำไร ค่ารับรอง ดอกเบี้ยเงินสำรอง รายจ่ายทำนองนี้ รายจ่ายฝ่ายทุน ผลเสียหายได้คืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม รายจ่ายไม่เกี่ยวข้อง เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่ม

  14. รายจ่ายส่วนตัว การกุศล หรือ ให้โดยเสน่หา มาตรา 65 ตรี (3) เว้นแต่ 1. กุศลสาธารณะ 2% กำไรสุทธิ 2. บริจาคการศึกษา 2% กำไรสุทธิ (ประกาศอธิบดี ฉ.44)

  15. รายจ่ายค่ารับรอง มาตรา 65 ตรี (4) เว้นแต่ เป็นไปตามข้อกำหนด ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143และ คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.56/2538 ลงวันที่ 8 ก.พ.2538

  16. รายจ่ายฝ่ายทุน มาตรา 65 ตรี (5) เว้นแต่ เป็นรายจ่ายที่จ่ายไปโดยมีจุดประสงค์ เพื่อซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม

  17. เบี้ยปรับ/เงินเพิ่มภาษีอากรเบี้ยปรับ/เงินเพิ่มภาษีอากร มาตรา 65 ตรี (6) เว้นแต่ เบี้ยปรับที่ไม่อยู่ในบังคับของประมวลรัษฎากร

  18. รายจ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่มรายจ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) เว้นแต่ รายจ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น ภาษีซื้อต้องห้าม เป็นต้น ประกาศอธิบดี เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉ.17 และ ฉ. 42

  19. รายจ่ายที่กำหนดเอง หรือ รายจ่ายลงผิดรอบฯ มาตรา 65 ตรี (9) เว้นแต่ กรณีที่สามารถพิสูจน์ได้ว่ามีการจ่ายจริง หรือ กรณีที่ไม่สามารถจะลงรายจ่ายใน รอบฯ ใด ก็อาจลงในรอบฯ ถัดไปได้

  20. ผลเสียหายได้คืน ผลขาดทุนสุทธิ มาตรา 65 ตรี (12) เว้นแต่ ผลเสียหายที่ไม่อาจได้กลับคืน ผลขาดทุนสุทธิ Carry Fwd ไม่เกินห้าปี หรือ Carry Bwd ไม่เกินห้าปีก่อนรอบฯ ปัจจุบัน

  21. จบการบรรยาย

More Related