1 / 75

พันธะเคมี

พันธะเคมี. 1. พันธะโคเวเลนต์ ( Covalent bond ). แบ่งเป็น. 2. พันธะไอออนิก ( Ionic bond ). 3. พันธะโลหะ ( Matallic bond ). พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล. แบบจำลองโครงสร้างของโลหะ.

Download Presentation

พันธะเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันธะเคมี

  2. 1. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) แบ่งเป็น 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) 3. พันธะโลหะ (Matallic bond) พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล

  3. แบบจำลองโครงสร้างของโลหะแบบจำลองโครงสร้างของโลหะ

  4. พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับอิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

  5. ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา?ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา? แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

  6. โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำ ดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอน วงนอกสุดไว้อย่างหลวมๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมา รอบๆโลหะตลอดเวลา อิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายกาวที่ช่วยยึดไอออนบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่ไว้ด้วยกันอย่างแข็งแรง ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอน อิสระและขนาดของไอออนบวก

  7. พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะพันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ 1. นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี การที่อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ไปมาในโลหะได้ ทำให้โลหะมีคุณสมบัติเป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี

  8. พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่อ) 2. สามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้

  9. พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 3. มีผิวเป็นมันวาว ผิวหน้าของโลหะเป็นมันวาว เนื่องจากอิเล็กตรอนอยู่ไม่ประจำที่และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระจะสามารถดูดกลืน และกระจายแสงได้จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงได้

  10. พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 4. มีจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากพันธะโลหะเป็นพันธะที่แข็งแรง เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดกับไอออนบวก

  11. พันธะไอออนิก

  12. การเกิด MgCl2 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 6 ขั้นตอนดังนี้ • 1. Mg (s) Mg (g) E1 = 150 kJ • 2. Mg (g) Mg+ (g) + e- E2= 738 kJ • 3. Mg+(g) Mg2+ (g) + e- E3= 1,451 kJ • 4. Cl2(g) 2Cl (g) E4= 242 kJ • 5. Cl(g) + e-Cl-(g) E5= 349 kJ • 6. Mg2+(g) + 2Cl- (g) MgCl2 (s) E6= 2,526 kJ รวมสมการ Mg(s) + Cl2 (g) MgCl2 1 โมล คำนวณได้ดังนี้ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

  13. ไอออนิกของแข็ง ไอออนิกหลอมเหลว ไอออนิกสารละลาย 4.1

  14. ทำไมไอออนิกถึงเปราะ แตกหักง่าย

  15. พันธะโควาเลนต์

More Related