1 / 21

I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์

I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์. 1. Poverty & Economic. 1/4 ของประชากรโลก มีรายได้ต่ำกว่า $ 1 per day 2/3 ของประชากรโลก นอนหลับ ท้องไม่อิ่ม นำไปสู่คำถาม (1) ทำไมถึงจน ? (2) อะไรทำให้จน ? (3) วิธีหลีกเลี่ยงความจน ?.

Download Presentation

I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์ 1. Poverty & Economic 1/4 ของประชากรโลก มีรายได้ต่ำกว่า $ 1 per day 2/3 ของประชากรโลก นอนหลับ ท้องไม่อิ่ม นำไปสู่คำถาม (1) ทำไมถึงจน ? (2) อะไรทำให้จน ? (3) วิธีหลีกเลี่ยงความจน ?

  2. 1.1 เศรษฐศาสตร์เกิดจากความต้องการ • มนุษย์มีความต้องการที่ไม่จำกัดหรือไม่อิ่มตัว • กิจกรรมที่สนองตอบต่อความต้องการทำให้เกิดความ ต้องการเพิ่มตามมา 1.2 ปัญหาหลักของเศรษฐศาสตร์ : ทรัพยากรจำกัด • เนื่องจากทรัพยากรไม่สามารถเพิ่มได้ทันกับความต้องการ • เทคโนโลยีที่มีในการผลิต มีขอบเขตในการพัฒนา • คน ทรัพยากรในการผลิตที่ถูกเชื่อมโยงด้วย ทุน เทคโนโลยี

  3. 1.3 กำลังทางเศรษฐกิจ • มีวิธีวัดอยู่ 2 แบบ คือ GDP & GNP • PPC ใช้แสดงถึงกำลังการผลิต ภายใต้ส่วนผสมของ ทรัพยากรที่มีอยู่ และระดับเทคโนโลยีที่ใช้ • The Opportunity Cost Principle เป็นหลักในการคิดต้นทุนในทางเศรษฐศาสตร์ 1.4 มาตรฐานการครองชีพ • GDP/GNP วัดในหน่วยของมูลค่ามากกว่าหน่วยของกายภาพ จึงมีภาพลวงตา จากระยะได้ง่าย • Per capita GDP อาจเป็นมาตรวัดมาตรฐานการครองชีพได้อย่างหยาบๆ

  4. 2. เหตุที่ทำให้ “จน”และเงื่อนไขที่ทำให้ “รวย” 2.1 คุณภาพของแรงงาน • ประชากร จำนวนแรงงาน คุณภาพ • นอกจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว การศึกษาเป็นกุญแจที่ สำคัญในการปรับปรุงคุณภาพของแรงงาน • Brain Drain จาก LDC ไป DC

  5. 2.2 จำนวนทุน และการสะสมทุน • ทุนมีน้อยเมื่อเทียบกับแรงงาน ทำให้แรงงานมี Productivity ต่ำ และเป็นที่มาของความจน • ทุน ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินแต่เพียงอย่างเดียว การสะสมทุน = การเปลี่ยนแปลงในทุน = การลงทุน • คนรวยมีโอกาสในการสะสมทุนมากกว่าคนจน เนื่องจากรายได้ไม่หมดไปกับการบริโภค การไหลของทุนจึงมาจากประเทศที่รวย (DC) สู่ประเทศที่จน • Capital Flight

  6. 2.3 Technology • mean & method to combine available resources • การพัฒนาเทคโนโลยีมักจะไปด้วยกันกับความก้าวหน้าระดับการศึกษา และการสะสมทุน (คนต้องท้องอิ่มก่อน จึงจะมีสติปัญญา) • เทคโนโลยีอาจจะไม่จำเป็นต้องพัฒนาภายในประเทศแต่เพียงอย่างเดียว อาจมาจากการซื้อ ขาย ยืม ส่งคนไปศึกษา อบรม หรือแม้แต่ขโมย

  7. 2.4 Efficiency • การมีแรงงาน ทุน และทรัพยากร มิได้เป็นเงื่อนไขของความสำเร็จ • ประสิทธิภาพเป็นเงื่อนไขที่ทำให้สามารถบรรลุถึงศักยภาพของกำลังทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เพราะจะทำให้อยู่บน PPC ในขณะที่คุณภาพ แรงงาน การสะสมทุน การพัฒนา เทคโนโลยี จะช่วยให้ PPC ขยายออกไปได้

  8. 3. การกระจายรายได้ • ผลพวงของรายได้หรือความเจริญก้าวหน้า อาจถูกแบ่งอย่างไม่เท่าเทียมกันก็ได้ • กำลังทางเศรษฐกิจที่จัดโดย GDP หรือมาตรฐานการครองชีพที่จัดโดย per capita GDP จึงอาจไม่ใช่เครื่องชี้ของการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม

  9. 4. บทบาทของรัฐ • ในการแก้ปัญหาความจน รัฐมักจะเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา มากกว่าเป็นการช่วยแก้ปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐของประเทศ LDC • อุปสรรคที่สำคัญในการพัฒนาของ LDC คือสงครามและการเมืองที่ใช้เสถียรภาพ • บทบาทของรัฐจึงควรที่จะดำเนินนโยบาย ที่จะปรับปรุงคุณภาพแรงงาน สร้างโอกาส/เงื่อนไขในการสะสมทุนเพิ่มระดับเทคโนโลยีและประสิทธิภาพ ลดอัตราการเกิดของประชากร

  10. II. เศรษฐกิจไทย และเศรษฐกิจโลก • Protection vs. Free Trade 1.1 Protectionist Viewpoint • ควบคุมการนำเข้าเพื่อลดการแข่งขันจากสินค้า ต่างประเทศ • เป็นหนทางในการแก้ไขดุลการค้า และ/หรือดุลการชำระเงิน • ส่งเสริม/ป้องกันกิจการที่มีความสำคัญต่อประเทศ ในบ้าน ความมั่นคง หรือสวัสดิการ

  11. 1.2 Free Trade Viewpoint • การลดสิ่งกีดขวางทางการค้า ทำให้ประชาชนมีสวัสดิการ ดีขึ้น • ทำให้เกิดการแบ่งงานตามความถนัด (Specialization)

  12. 2. กลไกทางเศรษฐศาสตร์ กับการค้าระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งทั้ง 2 โดยกลไกเศรษฐศาสตร์ 2.1 การค้าเกิดขึ้นได้อย่างไร • Its takes two to tango การนำเข้า (ซื้อมา) ไม่สามารถทำได้โดยปราศจาก การส่งออก (ขายไป)

  13. น้ำมัน น้ำมัน 200 c1 100 100 50 c0 P0 P1 50 ข้าว ข้าว 200 100 2.2 ผลของการซื้อขาย แลกเปลี่ยน (การค้า) • ในกรณีไม่มีการค้า การบริโภค/ผลิต จะอยู่ในระดับที่ต่ำ กว่า มีการค้าที่ C1และ P1 ก. ข. 25 50

  14. Terms of trade ระหว่างข้าว และน้ำมันของประเทศ ก. และ ข. ก. ข. น้ำมัน 1 2 ข้าว 2 1 - กรณีที่มีการค้าระหว่างกัน จะก่อให้เกิด (1) การแบ่งงานที่ถนัด (2) ผู้บริโภคได้รับสินค้าในราคาที่ถูกกว่าเดิม (3) มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative advantage) - สาเหตุที่ทำให้มีความได้เปรียบที่แตกต่างกันไปก็เนื่องมาจากทรัพยากรและระดับของเทคโนโลยี

  15. 2.3 การชำระเงินค่าสินค้าระหว่างประเทศ • การค้าระหว่างประเทศต่างจากในประเทศที่ (1) มีความแตกต่างในสกุลของเงิน (2) จุดมุ่งหมายทางการเมือง และชาตินิยมที่ไม่เหมือนกัน • อัตราแลกเปลี่ยน (exchange rate) เป็นตัวเชื่อมระหว่างเงินตราสกุลต่างๆกัน • ในกรณีที่ไม่มีการแทรกแซงจากรัฐ อัตราแลกเปลี่ยนหรือราคาของเงินตราต่างประเทศ จะถูกกำหนดจากอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศนั้นๆ ดังเช่น ราคาสินค้าอื่นๆ • อุปสงค์หรือความต้องการในเงินตราต่างประเทศจะมาจากการนำเข้า (ซื้อมา) ในขณะที่อุปทานในเงินตราต่างประเทศจะมาจากการส่งออก (ขายไป)

  16. 3. การวิเคราะห์ข้อขัดแย้ง 3.1 การควบคุมการนำเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ • จะก่อให้เกิดผลเสียทั้งในด้านรายได้ และมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศ เนื่องจาก (1) มีสินค้า/บริการ ให้เลือกบริโภคน้อยและมีราคาแพง (2) การค้าระหว่างประเทศไม่สามารถทำด้านเดียว (ส่งออก/นำเข้า) ได้ จำเป็นต้องเกิดคู่กันไป ซึ่งทำให้มีการผลิตเกิดขึ้นมากกว่าไม่มีการค้า • การควบคุมการนำเข้าจะก่อให้เกิดผลดีและเสียกับหน่วยทางเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (ทำให้เกิดผู้ชนะและแพ้) น้ำหนักของผลดีที่เกิดขึ้น อาจน้อยกว่าผลเสีย

  17. 3.2 ปัญหาการชำระเงิน • ดุลการค้าที่ขาดดุล ทำให้ต้องมีเงินไหลเข้าเพิ่ม ทำให้ดุลการชำระเงินไม่ขาดดุลไปด้วย • หากให้มีการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนกลไกของอัตราแลกเปลี่ยนจะทำให้ดุลการค้าได้ดุลในที่สุด • หากมีการแทรกแซง หรือใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (fixed exchange rate) ทางเลือกในการแก้ดุลการค้าขาดดุล คือ (1) ลดค่าเงิน หรือ (2) ควบคุมการนำเข้า ซึ่งฝ่ายการเมืองมักจะมีแนวโน้มที่จะเลือกอย่างที่ (2) มากกว่า (1)

  18. 3.3 การปกป้องอุตสาหกรรมที่สำคัญต่อความมั่นคง/สวัสดิการ • เป็นข้ออ้างภาวะการเมืองมากกว่าเศรษฐกิจ • ถึงแม้ในเวลาสงคราม ก็ยังคงมีการพึ่งพาวัตถุดิบ สินค้าจากต่างประเทศอยู่ดี

  19. III. หนี้ของประเทศ 1. หลักการและเหตุผล • การเพิ่มขึ้นในหนี้ของประเทศมักเกิดจาก สงคราม หรือ ความตกต่ำทางเศรษฐกิจ • การสื่อความหมายมักกระทำในรูปของ สัดส่วนหรือร้อยละ มากกว่าอย่างอื่น • หนี้สินทั้งภายในและภายนอกที่รัฐบาลเป็นผู้กู้และ/หรือค้ำประกัน • เป็นภาระผูกพันต่องบประมาณ ผู้รับภาระทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยคือประชาชน • ไม่รวมหนี้นของสถาบันการเงินที่เป็นของรัฐ 2. อะไรคือหนี้สาธารณะ (public debt)

  20. 3. ปัญหาของหนี้สาธารณะ • รัฐบาลล้มละลายได้หรือไม่ • การผลักภาระหนี้ระหว่าง tax vs. debt financing • ผลกระทบในด้านเศรษฐศาสตร์ • โดยการเก็บภาษี • โดยการกู้ยืม • โดยการเพิ่มปริมาณเงิน • ทั้ง 3 วิธีก่อให้เกิดผลกระทบในทางเศรษฐกิจไม่เหมือนกัน 4. วิธีการสร้างหนี้ของรัฐ

  21. 5. เมื่อใดจึงควรกู้ • การลงทุนในสินค้าสาธารณะ (public goods) • เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ หนี้โดยตรง ภาระผูกพัน (direct liabilities) (contigent liabilities) explicit การกู้ของรัฐบาล การเข้าค้ำประกัน ค่าใช้จ่ายประจำ implicit บำเหน็จ/บำนาญ การผิดนัดชำระหนี้ กองทุนประกันสังคม 6. โครงสร้างหนี้สาธารณะ

More Related