1 / 35

การบริหารการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 5

การบริหารการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 5. 1. บทบาทหน้าที่ CFO เขต. รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลบัญชีในโรงพยาบาลและรพ.สต. ดำเนินการควบคุมภายใน แผนรายได้ค่าใช้จ่าย และบัญชีรายเดือน ตรวจสอบบัญชี ข้อมูลบัญชีของอำเภอที่มีแนวโน้มต้องช่วยเหลือ

Download Presentation

การบริหารการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการเงินการคลังเขตบริการสุขภาพที่ 5

  2. 1. บทบาทหน้าที่ CFO เขต • รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลบัญชีในโรงพยาบาลและรพ.สต. • ดำเนินการควบคุมภายใน แผนรายได้ค่าใช้จ่าย และบัญชีรายเดือน • ตรวจสอบบัญชี ข้อมูลบัญชีของอำเภอที่มีแนวโน้มต้องช่วยเหลือ • ติดตาม ควบคุมกำกับต้นทุนการให้บริการของหน่วยบริการให้มีประสิทธิภาพ • สรุปสาระและสถานการณ์เป็นรายเดือน รายงวด

  3. คณะอนุกรรมการทำงาน CFO 1. คณะอนุกรรมการทำงานด้านวิชาการ ควบคุมภายใน และตรวจสอบภายใน • สนับสนุนด้านวิชาการ การเงินการคลัง • วางระบบควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน 2. คณะอนุกรรมการทำงานด้านพัฒนาระบบบัญชี CUP Finance และ CUP Management • วางระบบรูปแบบการบริหารจัดการ CUP Finance และ CUP Management 3. คณะอนุกรรมการทำงานด้านการติดตามการปฏิบัติให้สัมฤทธิ์ผลตามแผนการเงิน • ติดตามการปฏิบัติตามแผนทางการเงิน • พัฒนาเครื่องมือในการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านเวชภัณฑ์ และวัสดุต่าง ๆ 4. คณะอนุกรรมการทำงานด้นการพัฒนาบุคลากรทางการเงินการคลัง • วางแผนพัฒนาบุคลากรทางการเงินการคลัง

  4. 2. สถานการณ์การเงินการคลังโรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 5

  5. เปรียบเทียบการจัดสรรเงิน UC เขตบริกาสุขภาพที่ 5 ภายหลังจากการหักเงินเดือน ปีงบประมาณ 2556 - 2557

  6. เปรียบเทียบการหักเงินเดือนเขตบริกาสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2556 - 2557 สาเหตุของปัญหา

  7. เปรียบเทียบผู้ขึ้นทะเบียนสิทธิ UC เขตบริกาสุขภาพที่ 5 ปีงบประมาณ 2556 - 2557 สาเหตุของปัญหา - มีการเปลี่ยนสิทธิUC ของคนในอปท.เป็นผู้มีสิทธิเบิกได้ - มีการตัดสิทธิผู้มิใช่สถานะคนไทยออก

  8. สถานการณ์การเงินการคลังโรงพยาบาลในระดับประเทศสถานการณ์การเงินการคลังโรงพยาบาลในระดับประเทศ ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2557

  9. สถานการณ์การเงินการคลังโรงพยาบาลในเขต 5 ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2557

  10. สถานการณ์การเงินการคลังโรงพยาบาลเขตบริกาสุขภาพที่ 5 ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2557

  11. 3. สภาพปัญหา 3.1 สาเหตุของรพ.ที่วิกฤตระดับ 7 3.1.1 FIXED COST สูง - มีการปรับเงินเดือนข้าราชการสูงขึ้น - มีการปรับลูกจ้างชั่วคราวเป็นพนักงานกระทรวง - มีการปรับค่าตอบแทนฉบับ 8 , 9 3.1.2 ค่าใช้จ่ายด้านยาและเวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา สูงกว่าค่ากลางของ จังหวัด/เขต 3.1.3 การบริหารรายรับรายจ่ายไม่เป็นไปตามแผนการเงินการคลัง

  12. 3. สภาพปัญหา 3.1 สาเหตุของรพ.ที่วิกฤตระดับ 7 3.1.4 มีการให้บริการต่ำกว่าศักยภาพของ โรงพยาบาล โดยค่า CMI อัตราการครองเตียงต่ำ กว่าเป้าหมาย 3.1.5 แผนปรับประสิทธิภาพไม่ได้ดำเนินการอย่างจริงจัง 3.1.6 ขาดการติดตามการดำเนินการในระดับจังหวัด และเขต 3.1.7 ไม่ได้มีการปรับเกลี่ยอย่างเป็นรูปธรรมในบางจังหวัด 3.1.8 การจัดสรรปรับเกลี่ยในวงเงิน 3% LC ไม่ตรงตามโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่อง

  13. 3.2 ปัญหาอื่น ๆ 3.2.1 การตรวจสอบบัญชี ปัญหาที่พบ • การจัดเก็บลูกหนี้ UC ไม่ครบถ้วน • มีการบันทึกรับรู้สินทรัพย์ และค่าเสื่อมราคาไม่ถูกต้อง ระหว่างเจ้าหน้าที่พัสดุ กับ บัญชี • มีการบันทึกบัญชีรับจ่ายด้านรับ ไม่สอดคล้องกับใบเสร็จรับเงินและใบสั่งยา • มีการบันทึกค่าใช้จ่ายทางบัญชีผิดหมวดบัญชี

  14. 3.2 ปัญหาอื่น ๆ 3.2.2 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน ปัญหา • ผู้เกี่ยวข้องขาดความเข้าใจในวิธีเนื่องจากจากองค์ความรู้ในเรื่องของการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบที่กำหนด • ขาดระบบการตรวจสอบและการควบคุมกำกับการปฏิบัติงานที่ครบถ้วนถูกต้องตามระเบียบที่กำหนด โดยคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน และคณะกรรมการตรวจสอบการรับ-จ่ายเงินประจำวัน

  15. 3.2 ปัญหาอื่น ๆ 3.2.2 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน ปัญหา • บางหน่วยงานมีการจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารไม่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน • มีการโอนเงินเข้าบัญชีโรงพยาบาลแต่ไม่ทราบแหล่งที่มาแน่ชัดทำให้ไม่สามารถรับรู้เป็นรายได้ของโรงพยาบาลได้

  16. 3.2 ปัญหาอื่น ๆ 3.2.3 การพัฒนาบุคลากรทางการเงินการคลัง ปัญหา บุคลากรของเครือข่ายส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ทักษะด้านการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ในเรื่อง • การวิเคราะห์สถานการเงินการคลังของเครือข่ายบริการ (CUP) • การจัดทำบัญชีเกณฑ์คงค้าง • แนวทางการดำเนินการ Cup Finance • การจัดทำต้นทุนมาตรฐานของหน่วยบริการ • ด้านการตรวจสอบภายใน และควบคุมภายใน

  17. 4. มาตรการการแก้ไขปี 2557 4.1 การแก้ไขภาวะวิกฤตทางด้านการเงิน 4.1.1 การจัดสรรงบประมาณ 3 % LC จากสปสช. A. การจัดสรรงบ 80% (3% LC) วงเงิน 148 ล้าน โดยใช้เกณฑ์ • MOC • จำนวนประชากร • ดัชนีชี้วัดทางการเงิน B. การจัดสรรงบ 20% (3% LC) วงเงิน 37 ล้านบาท โดยใช้เกณฑ์ • NWC. • ค่าคาดการณ์ค่าใช้จ่าย3เดือนสุดท้าย

  18. 4. มาตรการการแก้ไขปี 2557 4.1 การแก้ไขภาวะวิกฤตทางด้านการเงิน 4.1.2 มาตรการ การจัดทำแผนปรับประสิทธิภาพ LOI (Letter of Intent) - ยกร่างหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำ LOI ในหน่วยบริการ • เร่งรัดการจัดทำ LOI โรงพยาบาลที่ประสบปัญหาวิกฤติทางด้านการเงินการคลัง • ติดตามการดำเนินงานของโรงพยาบาล กลุ่มเป้าหมายอย่างใกล้ชิด

  19. โรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมาย ที่ต้องจัดทำ LOI • โรงพยาบาลมีการขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม หรือปรับเกลี่ยเพื่อให้ได้รับงบประมาณเพิ่มเติมจากทั้งภายในจังหวัดและนอก • โรงพยาบาลมีภาวะวิกฤติทางการเงินเรื้อรังในระดับ 7 ติดต่อกัน 2 ไตรมาส • โรงพยาบาลมีสถานะทางด้านการเงินอยู่ในระดับ 7 ณ สิ้นปี และจากประมาณการแผนรายรับ-รายจ่ายเงินสดติดลบหรือประมาณการแผนงบกำไร-ขาดทุนติดลบ ในปีงบประมาณถัดไป

  20. 4. มาตรการการแก้ไขปี 2557 4.2 การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ 4.2.1 มีการจัดอบรมผู้ตรวจสอบบัญชีของกระทรวง 4.2.2 มีการจัดอบรมเรื่อง การพัฒนาระบบการเงินการคลัง วันที่ 15-16 ก.ย. 57 กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้รับผิดชอบ CFO สสจ./สสอ./รพ.

  21. 4. มาตรการการแก้ไขปี 2557 4.3 การเข้าตรวจสอบบัญชี มีการเข้าตรวจสอบบัญชีในโรงพยาบาล ที่ประสบสภาวะวิกฤตทางด้านการเงิน รวม 5 แห่ง ได้แก่ 1. รพท.สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 2. รพท.ดำเนินสะดวก 3. รพช.แก่งกระจาน 4. รพช.จอมบึง 5. รพช.เลาขวัญ

  22. 4. มาตรการการแก้ไขปี 2557 4.4 การพัฒนาระบบบัญชี CUP Finance และ CUP Management • มีการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยใช้รูปแบบของ CUP อำเภอปากท่อ จ.ราชบุรี เป็นต้นแบบในการขยายการดำเนินงานไปยัง อำเภออื่น ๆ • มีการจัดทำการวิเคราะห์งบการเงินรวม และสถานการณ์การเงินรวมของอำเภอ และแยกรายหน่วยบริการในอำเภอ

  23. 5. แผนการดำเนินงานด้านการเงินการคลังปีงบประมาณ 2558

  24. ตัวชี้วัดการดำเนินการตัวชี้วัดการดำเนินการ • หน่วยบริการในเขตมีแผนบริหารการเงินการคลัง ร้อยละ 100 • ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ 10 • หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำนวนโรงพยาบาลในเขต • หน่วยบริการในพื้นที่มีแผนควบคุมภายใน 100 % • หน่วยบริการในพื้นที่มีการดำเนินงาน CUP Finance 100 % • หน่วยบริการในพื้นที่มีการดำเนินการจัดทำ LOI 100 % • มีการตรวจสอบบัญชีโดยคณะกรรมการเขตในหน่วยบริการที่ขาดสภาพคล่องทุกแห่ง

  25. มาตรการที่ 1 พัฒนาคุณภาพการบันทึกบัญชีให้มีมาตรฐานของหน่วยบริการในรพ.สต. (Cup Finance)

  26. มาตรการที่ 1 พัฒนาคุณภาพการบันทึกบัญชีให้มีมาตรฐานของหน่วยบริการในรพ.สต. (Cup Finance)

  27. มาตรการที่ 2 การทำแผนการเงินการคลังและการจัดทำ

  28. มาตรการที่ 2 การทำแผนการเงินการคลังและการจัดทำ

  29. มาตรการที่ 3 การควบคุมกำกับการดำเนินการตามแผนทางการเงินการคลัง

  30. มาตรการที่ 4 การพัฒนาคุณภาพด้านการเงินการคลัง

  31. มาตรการที่ 5 การจัดระบบควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน

  32. มาตรการที่ 6 การดำเนินงาน Cup Finance และCup Management

  33. มาตรการที่ 7 การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา

  34. แผนงานเร่งด่วน CFO ประจำปี 2558 • ติดตามสนับสนุนหน่วยบริการที่มีปัญหาด้านการเงินการคลัง(ระดับ ๗) • LOI 100 % • CUP Finance และ CUP Management 100 %

  35. ขอบคุณครับ

More Related