1 / 15

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการวิเคราะห์งานและการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการวิเคราะห์งานและการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การวิเคราะห์งานและการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน. แนวคิดในการบริหารงานบุคคลในปัจจุบัน. แนวโน้มการบริหารทรัพยากรบุคคลในปัจจุบัน. การบริหารทรัพยากรบุคคลในอดีต. ใช้ความรู้ความสามารถเป็นตัวแบ่ง.

mayes
Download Presentation

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการวิเคราะห์งานและการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องการวิเคราะห์งานและการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ การวิเคราะห์งานและการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน

  2. แนวคิดในการบริหารงานบุคคลในปัจจุบันแนวคิดในการบริหารงานบุคคลในปัจจุบัน แนวโน้มการบริหารทรัพยากรบุคคลในปัจจุบัน การบริหารทรัพยากรบุคคลในอดีต ใช้ความรู้ความสามารถเป็นตัวแบ่ง ใช้หน้าที่บทบาท/ผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์เป็นตัวแบ่ง Behavioral Competencies OUTPUT INPUT THROUGHPUT Employee Centric Organization Centric

  3. ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างการเขียนแบบบรรยายลักษณะงานแบบเก่าและใหม่

  4. กระบวนการในการเขียนแบบบรรยายลักษณะงานกระบวนการในการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน • ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนงาน • คณะทำงาน ควรประกอบด้วย 1) หัวหน้าส่วนราชการผู้รับผิดชอบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการเป็นประธานคณะทำงาน 2) หัวหน้าหน่วยงานหรือข้าราชการในส่วนราชการนั้นตามที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นสมควรไม่น้อยกว่า 4 คน เป็นคณะทำงานและให้ 3) หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่หรืองานบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการเป็นเลขานุการ โดยคณะทำงานชุดนี้ควรจะมีบทบาทในการดูภาพรวมของการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Descriptions) • ขั้นตอนที่ 2 การเก็บข้อมูลทิศทางการบริหารงานบุคคลของสำนักงาน ก.พ. • ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่หรืองานบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการนำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งในสายงานที่ต้องการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงานมาประกอบการเขียน

  5. กระบวนการในการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 3 การเก็บข้อมูลยุทธศาสตร์และภารกิจของหน่วยงาน • ให้ส่วนราชการเก็บยุทธศาสตร์และภารกิจของหน่วยงานที่ต้องการจะจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน โดยอาจอ้างอิงจากภารกิจตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ และแผนยุทธศาสตร์ประจำปีของหน่วยงานที่จัดทำขึ้นตามคำรับรองของ ก.พ.ร. • ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดจำนวนตำแหน่งงานที่ต้องเขียนทั้งหมด • ให้ส่วนราชการนับจำนวนตำแหน่งงานที่ต้องเขียนในแต่ละหน่วยงาน

  6. กระบวนการในการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน (ต่อ) ตัวอย่างการกรอกตารางสรุปผลจำนวนงานที่ต้องดำเนินการเขียนแบบบรรยายลักษณะงานทั้งหมด

  7. กระบวนการในการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 5 การเก็บข้อมูลจากการทำงานจริง • เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน เนื่องจากเป็นการเก็บข้อมูลงานที่ทำจริงในสภาพปัจจุบันจากผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้บังคับบัญชาของผู้ดำรงตำแหน่ง ซึ่งในการเก็บข้อมูลอาจทำได้หลากหลายวิธี เช่น • การสังเกต (Observation) • การสัมภาษณ์ตัวแทนหรือผู้ครองตำแหน่งต่างๆ (Interview) • การส่งแบบสอบถาม (Questionnaires) • การจัดสัมมนาเพื่อจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Seminar) ขั้นตอนที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description: JDs) • เมื่อเก็บข้อมูลในการทำงานจริงจากทางใดทางหนึ่งเรียบร้อยแล้ว ก็ให้นำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ และจัดทำแบบบรรยายลักษณะงานที่ถูกต้องและเป็นมาตรฐานเดียวกันของทุกตำแหน่งในส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 7 การยืนยันแบบบรรยายลักษณะงาน

  8. มาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ มาตรฐานด้านทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน สมรรถนะหลัก สมรรถนะทางการบริหาร สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ให้ส่วนราชการระบุความต้องการของข้อมูลความรู้ความสามารถที่จำเป็นในแต่ละตำแหน่ง/ลักษณะงาน โดยหมายถึงการรับรู้ข้อมูลและจัดเก็บไว้ในระบบความจำ เมื่อมีการเรียนรู้และการจัดการข้อมูลดังกล่าวเข้ากับระบบที่มีข้อมูลอื่นจัดเก็บไว้ก่อนแล้ว และมีความเข้าใจในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ ว่าควรมาใช้อย่างไร ในเวลาใด ให้ส่วนราชการระบุทักษะความเชี่ยวชาญที่ต้องการในแต่ละตำแหน่ง/ลักษณะงาน โดยหมายความถึงขีดความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ ที่พัฒนามาจากการสั่งสมประสบการณ์และการฝึกฝน โดยทักษะจะสะท้อนออกมาจากการกระทำของบุคคล ว่าปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้ดีเพียงใด ให้ส่วนราชการระบุสมรรถนะที่จำเป็นในแต่ละตำแหน่ง/ลักษณะงาน โดยหมายความถึงคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมซึ่งทำให้บุคลากรบางกลุ่ม/บางคนในองค์กรปฏิบัติงานได้ผลงานโดดเด่นกว่าคนอื่นๆ

  9. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งแต่ละประเภทสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งแต่ละประเภท ตำแหน่งประเภททั่วไป ตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งประเภทอำนวยการ สมรรถนะหลัก การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) บริการที่ดี (Service Mind) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity) การทำงานเป็นทีม (Teamwork) สภาวะผู้นำ สมรรถนะตัวที่ 1: …………………………….. มีได้ตั้งแต่ 3 สมรรถนะ ขึ้นไป วิสัยทัศน์ สมรรถนะตัวที่ 2: …………………………….. สมรรถนะทางการบริหาร การวางกลยุทธ์ภาครัฐ สมรรถนะตัวที่ 3: …………………………….. ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน การควบคุมตนเอง การสอนงานและการมอบหมายงาน

  10. การวิเคราะห์งานคืออะไรการวิเคราะห์งานคืออะไร • คือกระบวนการรวบรวม วิเคราะห์ลักษณะงานและผลสัมฤทธิ์ที่องค์กรคาดหวังจากงานเพื่อนำเสนอเนื้อหาสาระของงานอย่างถูกต้องชัดเจน • การวิเคราะห์งานที่ดีต้องแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานนั้นกับองค์กร • ช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจว่างานนั้นๆเกี่ยวข้องกับองค์กรอย่างไร • งานนั้นมีส่วนช่วยสนับสนุนความสำเร็จขององค์กรอย่างไร • งานนั้นช่วยเพิ่มคุณค่าใดแก่องค์กร

  11. การวิเคราะห์งาน-สรุปย่อการวิเคราะห์งาน-สรุปย่อ • การวิเคราะห์งานคือ • การวิเคราะห์มิใช่การตรวจสอบ • วิเคราะห์ตัวงานมิใช่ตัวบุคคล • วิเคราะห์งานตามที่เป็นอยู่จริงมิใช่การตัดสินเอาเอง • วิเคราะห์ตัวงานที่เป็นอยู่จริงในเวลานี้แต่อ้างอิงจากวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ Job Job Job Job Job Job • การวิเคราะห์งานไม่ใช่ • การวิเคราะห์การทำงานของบุคคล • การวิเคราะห์เฉพาะบุคคล • การประเมินค่าผลการปฏิบัติงาน

  12. แนวคิดที่ใช้วิเคราะห์งานแนวคิดที่ใช้วิเคราะห์งาน ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์งาน โดยทั่วไปการวิเคราะห์งานจะพิจารณาใน 3 เรื่อง คือ คุณลักษณะของเนื้องาน (Task Characteristics) คุณลักษณะของงานในเชิงการประสานสัมพันธ์ (Social Characteristics) และเป็นบริบทภายนอกที่กระทบต่องาน (Work Context) โดยในแต่ละเรื่องแบ่งเป็นปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1 คุณลักษณะของเนื้องาน (Task Characteristics) ในการวิเคราะห์คุณลักษณะงานของเนื้องานนั้นจะวิเคราะห์ในมิติต่างๆ ดังนี้ • อำนาจในการทำงานด้วยตนเอง • ความหลากหลายของงาน • ความสำคัญของงาน • ความเป็นเอกลักษณ์หรือความสมบูรณ์ของงาน • ผลสะท้อนของงาน • คุณลักษณะทางความรู้ • ความซับซ้อนของงาน • การแก้ปัญหา 2 คุณลักษณะของงานในเชิงการประสานสัมพันธ์ (Social Characteristics) • แรงสนับสนุนจากสังคม • การไหลของกระบวนงาน หรือการพึ่งพาซึ่งกันและกัน • ปฏิสัมพันธ์ภายนอกองค์กร • ความคิดเห็นจากผู้อื่น • 3 บริบทภายนอกที่กระทบต่องาน (Work Context) • เป็นการวิเคราะห์ในประเด็นต่งๆ ดังนี้ • ความเหมาะสมต่อสรีระ • ความต้องการเชิงกายภาพ • สภาพการทำงาน • การใช้อุปกรณ์ในการทำงาน

  13. แนวคิดที่ใช้วิเคราะห์และเพื่อจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน:แนวคิดของการเขียนตำแหน่งงานแนวคิดที่ใช้วิเคราะห์และเพื่อจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน:แนวคิดของการเขียนตำแหน่งงาน แนวคิดเรื่องการเขียนงานที่ดีต้องประกอบด้วย 2 ส่วน งานและขอบเขตความรับผิดชอบที่จำเป็นในงานตามภารกิจปัจจุบัน (เพื่อเป็นสะท้อนการทำงานตามภารกิจขององค์กร) หน้างานที่เหมาะสม ครอบคลุม และมีความชัดเจน ของแต่ละตำแหน่งที่อิงทิศทางในอนาคตของส่วนราชการ (เพื่อเป็นการสะท้อนภาพตามยุทธศาสตร์ขององค์กร)

  14. แบบฟอร์มการบรรยายลักษณะงานแบบฟอร์มการบรรยายลักษณะงาน ชื่อส่วนราชการ .................... แบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ตำแหน่งเลขที่........................ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (Job Title) ชื่อตำแหน่งในการบริหารงาน .......................................................................................................... ชื่อสายงาน ....................................................................................................................................... ประเภท/ระดับ .................................................................................................................................. ชื่อหน่วยงาน (สำนัก/กอง) .............................................................................................................. ชื่อส่วนงาน/กลุ่มงาน/ฝ่าย/งาน ...................................................................................................... ชื่อตำแหน่งผู้บังคับบัญชาโดยตรง ..................... ประเภท/ระดับ .................................................... ส่วนที่ 2 หน้าที่ความรับผิดชอบโดยสรุป (Job Summary) ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ส่วนที่ 3 หน้าที่ความรับผิดชอบที่ทำอยู่ในปัจจุบัน (รวมถึงที่จะต้องทำในอนาคตด้วย) 1) ชื่อด้าน .................... 2) ชื่อด้าน .................... 3) ชื่อด้าน .................... 4) ชื่อด้าน ....................

  15. แบบฟอร์มการบรรยายลักษณะงาน (ต่อ) แบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) (ต่อ) ส่วนที่ 4 คุณสมบัติที่จำเป็นในงาน (Job Specifications) 4.1 วุฒิการศึกษา / ระดับของการศึกษา / สาขาวิชา ................................................................................................................ ................................................................................................................ 4.2 ใบอนุญาตวิชาชีพ/ ใบรับรอง ................................................................................................................ ................................................................................................................ 4.3 ประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน ................................................................................................................ ................................................................................................................ ส่วนที่ 5 ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นในงาน ส่วนที่ 6 การลงนาม ชื่อผู้ตรวจสอบ .................................... วันที่ที่ได้จัดทำ ....................................

More Related