1 / 11

เจเฟต Junction Field-effect transistor

เจเฟต Junction Field-effect transistor. โครงสร้าง เจเฟต

mckile
Download Presentation

เจเฟต Junction Field-effect transistor

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เจเฟต Junction Field-effect transistor

  2. โครงสร้าง เจเฟต • จังก์ชันฟิลด์เอฟเฟ็คท์ทรานซิสเตอร์ (Junction Field-effect transistor) หรือ JFET แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ N-Channel กับ P-Channel มีขาเพื่อการใช้งาน 3 ขา โดยถือว่าขา D และขา S ต่ออยู่กับสารชนิดเอ็นซึ่งกำหนดเป็นช่องทางเดินกระแสหรือ channel ในขณะที่ขา G ควบคุมการไหลของกระแส สร้างมาจากสารชนิดพีมี 2 region ของเกตโอบล้อมแชนแนลซึ่งเป็นสารเอ็นเอาไว้ • ส่วนเจเฟตชนิดพีแชนแนลมีโครงสร้างคล้ายกัน เพียงแต่ในส่วนของเนื้อสารมีความแตกต่างกันเท่านั้นเอง โดยเนื้อสารในส่วนที่เป็นทางไหลของกระแสตรงที่เรียกว่าแชนแนลนั้นเป็นสารชนิดพีส่วนเกตเป็นสารชนิดเอ็น

  3. รูปโครงสร้างเบื้องต้นของ เจเฟต

  4. สัญลักษณ์ เจเฟต สัญลักษณ์ของเจเฟตชนิด p แชนแนล สังเกตได้ว่าลูกศรชี้ออก พาหะข้างมากของเจเฟตชนิดนี้คือโฮล แทนที่จะเป็นอิเลคตรอนแนวดิ่ง แสดงถึง แชนแนลของเจเฟตขาซอร์สและเดรนต่อกับแชนแนลนี้ ลูกศรที่ชี้เข้าคือขาเกต การที่ลูกศรชี้เข้า แสดงถึง เจเฟตเส้นหนาในชนิด n แชนแนล แบบใน n แชนแนล

  5. รูปสัญลักษณ์ ของเจเฟต

  6. การทำงาน ของเจเฟต จะทำงานได้โดยป้อนแรงดันไบแอสที่เดรนและซอร์สโดยแหล่งจ่าย VDD ให้ขั้วบวกกับเดรนและขั้วลบกับซอร์ส  สำหรับเกตของเจเฟตจะให้ไบแอสกลับ โดยเจเฟตชนิด n-channel จะมีเกตเป็น p ดังนั้นแรงดันไบแอสที่เกต VGG  ต้องให้ขั้วลบกับเกตและขั้วบวกกับซอร์ส

  7. รูปการทำงานของเจเฟต

  8. วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ทำการออกแบบ • วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ออกแบบมีลักษณะแสดงดังรูปโดยในที่นี้นั้นใช้เจเฟตเบอร์ 2N3819 มาสร้างวงจร

  9. ลักษณะของวงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ใช้เจเฟตเบอร์ 2N3819ที่ได้ออกแบบ

  10. วงจร Audio Mixer (JFET) แบบ 3 อินพุท ที่ได้ทำการออกแบบ โดยจะเห็นได้ว่าได้มีการใช้หลักการของเจเฟตมาประยุกต์ใช้งาน โดยมีลักษณะเป็นวงจรแบบวงจรรวมสัญญาณแบบ 3 อินพุท ซึ่งสัญญาณทั้ง 3 นั้นจะถูกรวมเข้าด้วยกัน ซึ่งจะสามารถควบคุมระดับของสัญญาณที่ป้อนเข้ามาได้ว่าต้องการให้มีความแรงของสัญญาณมากน้อยเท่าใด โดยจะควบคุมความแรงของสัญญาณได้ในระดับหนึ่งตามที่ได้ทำการออกแบบไว้และได้สัญญาณทั้งหมดออกมานั้นเอง 

  11. จบการนำเสนอ

More Related