1 / 48

ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ. ประวัติวิทยากร. วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ ตำแหน่งปัจจุบัน : พนักงานบริหารความปลอดภัย (SAFETY ADMINISTRATIVE OFFICER) ส่วนความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ชั้น 10

Download Presentation

ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาล โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการจัดการอุบัติเหตุในโรงพยาบาลโดยวชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ

  2. ประวัติวิทยากร • วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ • ตำแหน่งปัจจุบัน : พนักงานบริหารความปลอดภัย • (SAFETY ADMINISTRATIVE OFFICER) • ส่วนความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ชั้น 10 • บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) • 555 ถ.อาจณรงค์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย • กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2239-7963 • Fax. 0-2239-7950 , Mobile: 08-1738-1643 • E-mail: vachiravitch.m@pttplc.com • การศึกษา : ปริญญาโท MBA. มหาวิทยาลัยรามคำแหง : ปริญญาตรี T.Ind.Ed.( Electricity ) วิทยาลัยครูพระนคร

  3. การฝึกอบรม/ศึกษาดูงานการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน • Modern Safety Management • Lead Assessor Auditor ISO9001 • Lead Assessor Auditor ISO14001 • Lead Assessor Auditor OHSAS 18001 • มอก.18001&ISO14001 Implementation • ISO9001 Implementation & Auditor • ศึกษาดูงานที่ประเทศ อังกฤษ,สหรัฐอเมริกา,ญี่ปุ่น,สิงค์โปร์ • เป็นที่ปรึกษา มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001 กระทรวงแรงงาน ประสบการณ์ • 2533-2533 : เจ้าหน้าที่ฝ่ายวางแผน การไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ (วัดเลียบ) • 2533-2547 : เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2533-2534 : Instrument Maintenance Officer คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2540-2547 : EMR (ISO14001) คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2542-2547 : OH&SMR(TIS18001)คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2543-2545 : Gas Operation Section คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2545-2547 : Administration Section คลังปิโตรเลียมสงขลา ปตท. • 2547-Present : Safety Administrative Officer : ส่วนความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (ปส.ผคน.ธกน.)

  4. ผลงานทางวิชาการ • การตรวจความปลอดภัยตามแผน (ภาคปฏิบัติ) สสท. • การตรวจติดตามภายในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001(สสท.) • VCD. วิชาการ 5 เรื่อง • การตรวจความปลอดภัย • การวางแผนงานความปลอดภัย • จิตสำนึกและพื้นฐานความปลอดภัย • การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย • การตรวจกิจกรรม 5 ส.

  5. วิสัยทัศน์ "มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน" • ภารกิจ/วัตถุประสงค์ของหน่วยงานพันธกิจ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นสังคมฐานความรู้บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม และหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึงความรู้ใน หลากหลายรูปแบบพันธกิจ 2 สร้างความเป็นผู้นำทางวิชาการในสาขาที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐาน ของภาคใต้ และเชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากลพันธกิจ 3 ผสมผสานและประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์การปฏิบัติสู่การ สอนเพื่อสร้างปัญญา คุณธรรม สมรรถนะและโลกทัศน์สากลให้แก่ บัณฑิต

  6. เป้าประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะทางที่เป็นเลิศและพัฒนาให้เกิดรูปธรรมของนวัตกรรมสำหรับขับเคลื่อนอนาคต และก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์)-จำนวนสิทธิบัตร/ลิขสิทธ์- สถานภาพการจัดลำดับมหาวิทยาลัยในภาพรวม และภาพสาขาวิชา- ดำรงอยู่ในระบบเครือข่ายสาขาความเป็นเลิศระดับอุดมศึกษา2. เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหา-วิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์)- จำนวน paper/คน/ปี- จำนวนอาจารย์ active วิจัย

  7. เป้าประสงค์ 3. เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ดำรงด้วยคุณธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย มีทักษะชีวิต สำนึกสาธารณะ และสมรรถนะสากลที่สมบูรณ์สู่ตลาดงานสากล ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์)- ร้อยละของการมีงานทำและประกอบอาชีพอิสระ- ระดับความพึงพอใจนายจ้าง&ผู้ประกอบการ- บัณฑิตที่ทำงานต่างประเทศ4. เพื่อสร้างบริบททางวิชาการที่เปิดกว้าง ต่อการแสวงหาความรู้ ด้วยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอย่างหลากหลายและทั่วถึง เสริมสร้างทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์)- จำนวนหลักสูตร online ที่จัดการเรียนการสอนในรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือน

  8. เป้าประสงค์ 5. เพื่อการดำเนินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบ ได้ และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขตภายใต้กรอบปฏิบัติตาม หลักธรรมมาภิบาล ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์)- ระดับความมั่นคงทางการเงิน ; พิจารณาจาก- อัตราส่วนรายรับจริง/รายได้สะสม- อัตราการแสวงหารายได้เพิ่มขึ้น 6.เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และปรับวัฒนธรรมองค์กร สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการสร้างสม และจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงยั่งยืนตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์) - Ph.D 50% ในปี 2552

  9. วิสัยทัศน์ • เป็นบริษัทพลังงานของไทย ที่ประกอบธุรกิจก๊าซธรรมชาติและน้ำมันครบวงจร และธุรกิจปิโตรเคมีที่เน้นการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก รวมทั้งธุรกิจต่อเนื่อง มุ่งไปสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ (High Performance Organization) และเป็นผู้นำในภูมิภาค ด้วยความรับผิดชอบ เป็นธรรม และให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่เหมาะสมต่อผู้มีส่วนได้เสีย

  10. ค่านิยม • ต่อผู้ถือหุ้นจะดำเนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ ให้มีการเจริญเติบโตและมีกำไรอย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนที่ดี • ต่อลูกค้าจะสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า โดยผ่านการนำเสนอผลิตภัณฑ์และ บริการที่มีคุณภาพสูงในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคายุติธรรม • ต่อพนักงานจะสนับสนุนการพัฒนาความสามารถการทำงานระดับมืออาชีพอย่าง ต่อเนื่อง ให้ความมั่นใจในคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานทัดเทียม บริษัทชั้นนำ • ต่อชุมชนจะรับผิดชอบ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ที่ดีแก่สังคมชุมชน • ต่อคู่ค้าจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อเอื้อประโยชน์ร่วมกัน

  11. วัฒนธรรมองค์กร • ทัศนคติ  - มีความรู้สึกเป็นเจ้าของ- มุ่งเน้นผลประโยชน์ทางธุรกิจเป็นหลัก- มุ่งเน้นลูกค้า- ต้องการให้ ปตท. เป็น Innovative Organization- มีจิตสำนึกในการทำงานเป็นทีม โดยมีเป้าหมายร่วมกันที่ชัดเจน • วิธีคิด - คิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเชิงยุทธศาสตร์ และตรงประเด็น • พฤติกรรมในการทำงาน - มีกรอบและแผนการทำงานที่ชัดเจน- วิธีการทำงานต้องปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์- ทำงานเป็นทีม- บันทึก เก็บข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ และสร้างเป็นองค์ความรู้- มีระบบการถ่ายทอดวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ- บริหารเวลาเป็น

  12. อุบัติเหตุ ( Accident) คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญไม่ได้คาดคิดและไม่ได้ควบคุมไว้ก่อนในที่ทำงาน แล้วผลทำให้คนเกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต และอาจทำให้ทรัพย์สินเสียหาย

  13. ไฟไหม้โรงบรรจุก๊าซ ปตท. ที่ถนนศรีนครินทร์ : 2550

  14. ไฟไหม้โรงบรรจุก๊าซ ปตท. ที่ถนนศรีนครินทร์ : 2550

  15. Fire Explosion in Oil Depot in England:2006

  16. “GAS LEO” ACCIDENT :SONGKHLA, December,2007

  17. น้ำท่วมที่เชียงใหม่ ปี 2548 (2005)

  18. เครื่องบิน วันทูโก ตกที่ภูเก็ต : ก.ย. 2550 (2007)

  19. อุบัติเหตุสะพานพังที่ สหรัฐอเมริกา :2007

  20. รถไฟใต้ดินประสานงา , มกราคม 2548(2005)

  21. ความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ ความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ 1. ความสูญเสียทางตรง หมายถึงจำนวนเงินที่ต้องจ่ายไปอันเกี่ยวเนื่องกับผู้ได้รับบาดเจ็บ ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าทำขวัญ ค่าทำศพ ค่าประกันชีวิต

  22. ความสูญเสียทางอ้อม หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (ซึ่งส่วนใหญ่จะคำนวณเป็นตัวเงินได้) นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายทางตรงสำหรับการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้ง ตัวอย่างเช่น การสูญเสียเวลาทำงานของ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม เครื่องจักร วัตถุดิบหรือสินค้าที่ได้รับความเสียหาย ผลผลิตลดลง เนื่องจากขบวนการผลิตขัดข้อง

  23. ค่าสวัสดิการต่าง ๆ ของผู้บาดเจ็บ ค่าจ้างแรงงานของผู้บาดเจ็บ การสูญเสียโอกาสในการทำกำไร ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า น้ำประปา และโสหุ้ยต่าง ๆ การเสียชื่อเสียงและภาพพจน์ของโรงงาน

  24. $1 $5 - $50 ทรัพย์สินเสียหาย (ไม่ได้ประกัน) $1 - $3 ค่าใช้เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ • ค่ารักษาพยาบาล • ค่าทดแทน • ค่าประกันชีวิต ACCIDENT COST ICEBERG • อาคารเสียหาย • เครื่องจักรเครื่องมือเสียหาย • ผลิตภัณฑ์/วัตถุดิบเสียหาย • ความขัดข้องและล่าช้าของกระบวนการผลิต • ค่าใช้จ่ายทางกฎหมาย • ค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องมือ มาใช้เมื่อฉุกเฉิน • ค่าเช่าอุปกรณ์ชั่วคราว • เวลาในการสอบสวน • ค่าจ้าง/ค่าฝึกอบรมแรงงานทดแทน • ค่าล่วงเวลา • คำแนะนำงานเป็นกร๊พิเศษ • ผลผลิตลดลงเนื่องจากคนงานบาดเจ็บ • การเสียชื่อเสียงทางธุรกิจ

  25. สาเหตุเกิดจากอะไร? เอ่ย.......!!!

  26. อุบัติการณ์ (Incident) • เหตุการณ์ที่เกือบกลายเป็นอุบัติเหตุ (Near Miss) • เหตุการณ์ที่ไม่ต้องการให้เกิดเมื่อเกิดแล้วยังไม่ส่งผลต่อความเสียหายที่ปรากฏชัดแต่มีศักยภาพที่จะเกิดความเสียหาย

  27. อุบัติการณ์ ( Incident) ฝ้าเพดานตกลงมาที่พื้น โดยที่ไม่มี ใครได้รับผลกระทบ ไม่มีการบาดเจ็บ ทรัพย์สินไม่เสียหาย

  28. สาเหตุขณะนั้น ( Immediate Causes ) การกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐาน (Sub Standard Act) สภาพการณ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน (Sub Standard Condition)

  29. 1. ปัจจัยจากคน (Personal Factor) เช่น การขาดความรู้ ความชำนาญ ของผู้ปฏิบัติ 2. ปัจจัยจากงาน (Job Factor) เช่น ไม่มีมาตรฐาน การปฏิบัติงานไม่มีการตรวจสอบ สาเหตุพื้นฐาน (Basic Causes)

  30. 1. ไม่มีโปรแกรมหรือมีไม่เพียงพอ (Inadequate Program) เช่น ไม่มีโปรแกรมการฝึกอบรม 2. ไม่มีมาตรฐานหรือมีไม่เพียงพอ (Inadequate Standard) เช่น ไม่มีมาตรฐานการฝึกอบรม 3. ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน (Inadequate Compliance) เช่น ไม่มีการจัดฝึกอบรมหรือไม่จัดตามมาตรฐาน เกิดจากการขาดการควบคุมที่ดี (Lack of Control)

  31. คน (People) เครื่องจักรอุปกรณ์ (Equipment) วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ (Material) สภาพแวดล้อมในการทำงาน (Environment) P E M E อุบัติเหตุหรือความสูญเสียเกิดจากแหล่ง 4 แหล่ง

  32. แหล่งกำเนิดสำคัญที่สุด ได้แก่ คน ซึ่งต้องแก้ไขที่คน โดยอาศัยผู้บริหารและระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ อธิบายตามหลักการ Domino ของ Mr.Frank E. Bird เป้าหมายหลักคือการควบคุมป้องกัน โดยระบบการบริหารก่อนเกิดความสูญเสีย

  33. ทฤษฎีความปลอดภัย Domino ของ Frank E. Bird สาเหตุพื้นฐาน สาเหตุขณะนั้น อุบัติการณ์ ความสูญเสีย ขาดการควบคุม Immediate Causes Loss Incident Basic Causes Lack of Control • People • Property • Process • (Profit) • หัวข้อโปรแกรม • มาตรฐานของโปรแกรม • การปฏิบัติตามมาตรฐาน • ปัจจัยจากงาน • Job factor • ปัจจัยจากคน • Personal factor • การกระทำ/ • สภาพต่ำกว่า • มาตรฐาน • Substandard • Act/Condition Contact with Substance or Energy

  34. โรคจากการทำงาน “โรคจากการประกอบอาชีพ” หรือ “โรคอันเกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน” หมายถึง การเจ็บป่วยของคนงาน พนักงาน ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้ใช้แรงงานที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการทำงานในสถานที่ทำงาน

  35. องค์ประกอบที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน ตัวเหตุของโรค ตัวคนที่ทำงาน สภาพการทำงานและสภาพแวดล้อม

  36. ตัวเหตุของโรค หรือสิ่งที่ทำให้เกิดโรค หมายถึง ต้นตอหรือสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรค ตัวเหตุทางเคมี ก๊าซ ไอสาร ละออง ฝุ่น ตัวเหตุทางกายภาพ เสียงดัง ความร้อน ความสั่นสะเทือน ตัวเหตุทางชีวภาพ ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิ ฝุ่นใยฝ้าย

  37. คนที่ทำงาน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการได้รับตัวเหตุของโรค ก. สิ่งที่มีอิทธิพลทำให้คนงานนั้นไวต่อตัวเหตุของโรค เช่น กรรมพันธุ์ เชื้อชาติและเพศ ข. อายุ ค. พื้นฐานสุขภาพก่อนเข้าทำงาน ง. ภาวะทางโภชนาการของแต่ละบุคคล จ. พฤติกรรมในการทำงานของแต่ละบุคคล ฉ. พื้นฐานการศึกษาของคนงาน

  38. สภาพการทำงานและสภาพแวดล้อมสภาพการทำงานและสภาพแวดล้อม เป็นองค์ประกอบที่จะกระตุ้นและส่งเสริมทั้งทางตรงและ ทางอ้อมที่จะทำให้โรคเกิดขึ้นและลดความรุนแรงลง ก. ความสะอาดเรียบร้อยของสถานที่ทำงาน ข. การระบายอากาศที่ดี ค. สถานที่ทำงาน หากมีเนื้อที่น้อยและแออัดคับแคบจะทำให้คนงานมีโอกาสได้รับต้นเหตุของโรคมากขึ้น

  39. เป้าหมายสูงสุดคืออะไร?เป้าหมายสูงสุดคืออะไร? $

  40. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยความปลอดภัยและอาชีวอนามัย สภาวะที่ปลอดหรือปราศจากอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ และโรคจากการทำงาน

More Related