1 / 19

DPAC Module1 Introduction to DPAC

DPAC Module1 Introduction to DPAC. น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf. องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในปี 2548 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากโรควิถีชีวิต 35 ล้านคน หรือ ร้อยละ 60 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด 58 ล้านคน

mindy
Download Presentation

DPAC Module1 Introduction to DPAC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DPAC Module1 Introduction to DPAC น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล

  2. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdfhttp://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในปี 2548 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากโรควิถีชีวิต 35 ล้านคน หรือ ร้อยละ 60 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด 58 ล้านคน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าในปี 2558 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 หรือประมาณ 38.8 ล้านคน

  3. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdfhttp://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf

  4. Projected Main Causes of Death, Worldwide, All Ages, 2005 NORDIC FOOD WEEK 19.9.2007

  5. Incidence Rate of Chronic Disease among Thai people by year, 1994-2006 per 100,000 Year Source : In patient report. Bureau of Policy and Strategy MOPH,Thailand,2006

  6. ความดันโลหิตสูงภาวะน้ำหนักเกินความดันโลหิตสูงภาวะน้ำหนักเกิน • ไขมันในเลือดสูงการไม่ทานผักผลไม้ • การไม่ออกกำลังกาย เป็น 5 ใน 10 อันดับแรกของปัจจัยเสี่ยง ที่ทำให้คนไทยเจ็บป่วย และเสียชีวิต ซึ่งมีต้นเหตุหลักคือ การบริโภค และการใช้แรงกาย :ผลสำรวจภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยงของคนไทยพ.ศ.2547 Source: Thai Working group on Burden of Disease. (2007) Burden of disease and injury in Thailand 2004. International Health Policy Program. Bureau of Policy and Strategy. Ministry of Public health.

  7. Prevalence of Metabolic syndrome Source : Nutrition Division, Department of Health (sample: n=1737, sedentary employee group, age>30 yrs.)

  8. การบริหารงบ PPปี 52 Non-UC สธ. งบ PP Non-UC สปสช. PP Nat. Priority PP exp. demand PP area based PP com 37.50 15.36 31.0 109.86 Vertical Program PP ตำบล37.50 PP กองทุนตำบล PPA เขต PPA จว./อำเภอ

  9. National Priority Program หลักการ เป็นแผนงานระดับชาติ ที่ต้องมี Preventive & Cost Benefit กับประชากรไทย ข้อเสนอ 1. ต้องมีหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีดำเนินการของ NPP ชัดเจน มีคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำกับทิศทาง 2. ระยะเวลาสิ้นสุดไม่เกิน 3 ปี และให้บูรณาการเข้าระบบปกติ(Service Function) 3. ผ่านขั้นตอนทำ Model Development แล้ว

  10. National Priority Program ปี 2552 สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย (เน้น เบาหวาน ภาวะอ้วน)  อนามัยเด็ก 0-5 ปี (นมแม่ พัฒนาการ สุขภาพช่องปาก)  คัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  11. ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (Thailand Healthy Lifestyle Strategy)

  12. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนประเทศไทยการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนประเทศไทย

  13. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุงยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง 1. Individual approach DPAC (Diet Physical Activity Clinic) 2.Community approach HPP (Healthy Public Policy)

  14. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ระดับประชาชน (Valuation) 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำ คนไทยไร้พุงต้นแบบ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ 12. ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (Management) 4. มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 15 1.วัฒนธรรมที่ดี

  15. บทบาทหน้าที่ของ DPAC Community Case Finding Other Clinic DPAC Case Holding Community Case Finding Other Clinic Intra Hospital Extra Hospital

  16. สรุป บทบาทหน้าที่ของ DPAC สร้าง 3 C Class Change Knowledge ,Attitude ?,Practice ? Clamp Transformation Attitude Practice. Club  Create Supportive Social Env (Self help group)

More Related