1 / 12

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. สวัสดีค่ะ !!!. สมาชิกในกลุ่ม. 1.น.ส.ขวัญประภา ฐานสมบูรณ์ รหัส 463230074-1 การเงินปี 4 2.น.ส.พัชรา พิลาโพธิ์ รหัส 463230093-7 การเงินปี 4

Download Presentation

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

  2. สวัสดีค่ะ !!! สมาชิกในกลุ่ม 1.น.ส.ขวัญประภา ฐานสมบูรณ์ รหัส 463230074-1 การเงินปี 4 2.น.ส.พัชรา พิลาโพธิ์ รหัส 463230093-7 การเงินปี 4 3.น.ส.วิภาภรณ์ ชูรัตน์ รหัส 463230266-2 การเงินปี 4 4.น.ส.นิ่มนวล สิมสินธุ์ รหัส 463230292-1 การเงินปี 4

  3. ประวัติความเปนมาของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยประวัติความเปนมาของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย - การจัดตั้ง จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 โดยการรวมหน่วยงาน ด้านการผลิตและส่งพลังงานไฟฟ้า 3 แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้ายันฮี การลิกไนท์ และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าเป็นหน่วยงานเดียวกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคลตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2512 เรียกชื่อย่อว่า “กฟผ.” โดยมีนายเกษม จาติกวณิชเป็นผู้ว่าการคนแรกพระราชบัญญัติฉบับนี้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง โดยครั้งล่าสุดได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2535

  4. การก้าวเข้าสู่ความเป็นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยการก้าวเข้าสู่ความเป็นการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 โดยการรวมหน่วยงาน ด้านการผลิตและส่งพลังงานไฟฟ้า 3 แห่ง ได้แก่ การไฟฟ้ายันฮี การลิกไนท์ และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าเป็นหน่วยงานเดียวกัน มีฐานะเป็นนิติบุคคลตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2512 เรียกชื่อย่อว่า “กฟผ.” โดยมีนายเกษม จาติกวณิชเป็นผู้ว่าการคนแรกพระราชบัญญัติฉบับนี้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง โดยครั้งล่าสุดได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2535

  5. บทบาทและความสำคัญของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยบทบาทและความสำคัญของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สามารถดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าหรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อดำเนินธุรกิจดังกล่าว และให้มีอำนาจใช้สอยและครอบครองอสังหาริมทรัพย์เพื่อสำรวจหาแหล่งพลังงาน ตลอดจนสถานที่สำหรับใช้ในการผลิตหรือพัฒนาพลังงานไฟฟ้าโดยชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม และให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขที่เกี่ยวกับคุณภาพไฟฟ้า เทคนิคทางวิศวกรรม และความปลอดภัยของระบบไฟฟ้า ในกรณีที่เอกชนประสงค์จะเชื่อมโยงระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กฟผ. มีสิทธิเพิ่มวงเงินในการกู้ยืมและในการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ คณะกรรมการมีอำนาจจำหน่ายทรัพย์สินออกจากบัญชีได้ทุกกรณีโดยไม่จำกัดวงเงินโดยสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ

  6. ปัญหาในการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยปัญหาในการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • สถานะทางการเงินของ กฟผ. เห็นได้จากทรัพย์สินซึ่งมีทั้งสิ้น 400,000 ล้านบาท หนี้สิน 240,000 ล้านบาท มีภาระจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ยสูงถึงปีละ 40,000-50,000 ล้านบาท ในขณะที่มีกำไรปีละ 20,000 ล้านบาท กฟผ.ยังโอบอุ้มพนักงานเอาไว้มากถึง 30,000 คนทั่วประเทศ มีค่าใช้จ่ายบริหารทั่วไปสูงถึงประมาณ 10,000 ล้านบาทต่อปี ข้อสำคัญคือ หนี้สินของ กฟผ.ปัจจุบันจำนวน 240,000 ล้านบาท เป็นหนี้สินที่รัฐบาลแบกภาระค้ำประกันอยู่ และถูกรวมไว้ในยอดหนี้สาธารณะของรัฐบาลไทยที่เจ้าหนี้และนักลงทุนต่างชาติใช้คำนวณเพื่อประเมินความเข้มแข็งทางการคลังของรัฐบาลไทยด้วย ข้อสังเกตคือ ปัจจุบัน มีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรวม 63 โครงการ เป็นเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 300,000 ล้านบาท ซึ่งเท่ากับประหยัดเงินลงทุนและหนี้สินของ กฟผ.และลดยอดหนี้สาธารณะที่ค้ำประกันโดยรัฐบาลไปได้ในจำนวนเดียวกัน ถ้าไม่มีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนเหล่านี้ กฟผ.ก็จะมีหนี้สินสูงถึง 540,000 ล้านบาท มากกว่าทรัพย์สิน เท่ากับว่า กฟผ.จะอยู่ในสภาพล้มละลาย

  7. เหตุผลการแปรรูป กฟผ. • การแปรรูปของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เพื่อจะให้ได้มา ซึ่งเงินทุนในการบริหารงาน และการลงทุนต่างๆ จะต้องมีการปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมีความสามารถในการแข่งขัน และสาเหตุสำคัญ ที่มีการ แปรรูป กฟผ. ในขณะนี้เกิดจากแรงบีบคั้นจากวิกฤติเศรษฐกิจ เพราะช่วงเศรษฐกิจบูม กฟผ.ได้ลงทุนขยายโรงไฟฟ้าอย่างมาก ถ้าหากไม่ให้เอกชนลงทุน กฟผ.จะต้องทำเอง ซึ่งในข้อเท็จ จริง ที่ผ่านมา กฟผ.ลงทุนเองไม่ไหว จนปัจจุบันมีหนี้สินมากมาย ทำให้ขาดสภาพคล่อง หนี้สินท่วมหัว รัฐบาลไม่สามารถแบกภาระดังกล่าวของ กฟผ. ได้ และเป้าหมายอีกประการหนึ่ง คือ การลดภาระการลงทุนของ ภาครัฐ การแปรรูปทั้งในรูปของการให้เอกชนมีบทบาทมากขึ้นหลังการขายหุ้นจะสามารถช่วยลดภาระหนี้สินของรัฐบาล และของ กฟผ.

  8. การดำเนินการแปรรูป กฟผ. • ในช่วงแรก กฟผ.ได้ดำเนินการแปรรูปโดยถ่ายโอนทรัพย์สินให้กับบริษัทลูกของ กฟผ. ที่ตั้งขึ้นมาใหม่ คือ บมจ. ผลิตไฟฟ้า เพื่อดำเนินการผลิตไฟฟ้า และขายให้ ระบบภายใต้สัญญาระยะยาว โดยทรัพย์สิน ที่ถูกถ่ายโอนไปยังบริษัทลูกคือ โรงไฟฟ้าระยอง และโรงไฟฟ้าขนอม ต่อจากนั้น ไม่นาน กฟผ.ได้เสนอสัญญารับซื้อไฟฟ้าระยะยาวให้กับภาคเอกชน เพื่อให้ภาคเอกชนได้เข้ามาลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า และมีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า โดยการขายไฟฟ้าให้กับระบบภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ และโครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายย่อย ภายหลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจกลายเป็นความจำเป็นเร่งด่วน ที่รัฐบาลต้องดำเนินการ ตาม ที่ได้ระบุไว้ในจดหมายแสดงเจตจำนงฯ ในการขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ในส่วนของภาคพลังงานมีสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เป็นหลักในการดำเนินงาน และได้มีการจัดทำแนวทางในการแปรรูป และปรับโครงการกิจการด้านพลังงานในประเทศไทย โดยในส่วนของการแปรรูป ระบบไฟฟ้า ในระยะสั้นได้กำหนดให้มีการขายหุ้นของการไฟฟ้า ใน บมจ.ผลิตไฟฟ้า ซึ่งได้ดำเนินการไปแล้วตามมาด้วยการขายหุ้นในโรงไฟฟ้าราชบุรี ซึ่งดำเนินการไปเรียบร้อยแล้วเมื่อเดือนตุลาคม ที่ผ่านมา เพื่อเป็นการลดภาระ ทางการเงินของรัฐบาล เสริมสภาพคล่อง และฐานะการเงินของ กฟผ.

  9. ผลกระทบจากการแปรรูป กฟผ. • ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับอัตราผลตอบแทน (rate of return) และต่อสังคม คือ ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพในการให้บริการ และข้อกำหนดการให้บริการในระดับสากล รวมทั้งในเรื่องของราคาสินค้า ที่อาจจะถีบตัวสูงขึ้นจากการลงทุนจำนวนมาก ต่อทรัพยากรบุคคล และการบริหารงาน การลดจำนวนพนักงานลงทำให้เกิดความไม่พอใจของพนักงานในการแปรรูป กฟผ.

  10. ค่าไฟฟ้าจะแพงขึ้น ด้วยเหตุผลสำคัญ 3 ประการคือ   1.  บริษัท กฟผ. ผูกขาดเป็นผู้ซื้อ ผู้ขายไฟฟ้าแต่เพียงรายเดียว 2. ราคาค่าซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเอกชนจะมีราคาสูงมาก 3. แปรรูปแล้วรัฐไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุม

  11. การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการแปรรูป กฟผ. • การแปรรูปรัฐวิสาหกิจใด ๆ ที่ไม่สามารถทำให้หลุดพ้นจากการผูกขาดและขาดประสิทธิภาพในการควบคุมของภาครัฐ จะต้องไม่มีการแปรรูปในขณะที่การคงสภาพเดิมของรัฐวิสาหกิจก็เป็นสิ่งที่ประชาชนไม่อาจรับได้ เพราะความโปร่งใส ปลอดจากการทุจริต การบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ มีความเป็นธรรมต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม โครงสร้างรัฐวิสาหกิจแบบเดิม ๆ ก็ไม่สามารถตอบคำถามเหล่านี้ได้อย่างชัดเจนนักซึ่งรัฐวิสาหกิจในวันนี้ “ต้องไม่แปรรูป” แต่ต้อง “ปฎิรูป”

  12. การนำเสนอเรื่อง กฟผ. จบแล้วค่ะ ขอขอบคุณ ท่านอาจารย์ เพื่อนๆการเงินปี 4 ทุกคน น้องๆเศรษฐศาสตร์ปี 2 ทุกคน GOOD BUY AND GOOD LUCK !!!

More Related