1 / 44

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพ

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๐

misha
Download Presentation

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๓/๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และ ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๖ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น โดยจัดทำเป็นแผนสี่ปี ... ในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุ ... พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑

  3. ปฏิทินการจัดทำแผนสาธารณสุข ปี 2554สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี www.udo.moph.go.th

  4. การวาง ยุทธศาสตร์ การนำ ยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ การควบคุม เชิง ยุทธศาสตร์ กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์เพื่อการปรับแต่งยุทธศาสตร์ • แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map กระบวนการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์

  5. กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT) การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) การกำหนดเป้าประสงค์สำหรับแต่ละประเด็น เป้าประสงค์ (Goals) การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้าหมาย (Target) การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (Strategies)

  6. แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด

  7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550 - 2554) วิสัยทัศน์ประเทศไทย มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society)คนไทยมีคุณธรรมนำความรอบรู้ รู้เท่าทันโลกครอบครัวอบอุ่นชุมชนเข้มแข็งสังคมสันติสุขเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพ และเป็นธรรมสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาลดำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”

  8. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและ การเรียนรู้ ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม  ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

  9. แผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 10The Tenth Natinal Health Plan ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้ สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขพอเพียงอย่างยั่งยืน Vision:

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๐ 1. สร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีความสุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ 2. สร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียงเพื่อสังคมแห่งสุขภาวะ 3. สร้างภูมิคุ้มกันและลดผลกระทบจากภัยคุกคามต่างๆ 4. สร้างทางเลือกสุขภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากลอย่างรู้เท่าทัน 5. สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ 6. สร้างเอกภาพและธรรมภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ

  11. “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่ความเข้มแข็งของชุมชน

  12. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2553-2554 วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ประชาชน มีความรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ มีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ภาคี พหุภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ เครือข่ายธุรกิจบริการสุขภาพมีส่วนร่วมจัดบริการ รพ.สต.มีคุณภาพ มาตรฐาน กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระบบบริการมีคุณภาพ มาตรฐาน มีงานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ รากฐาน ระบบข้อมูลข่าวสารมีคุภาพ มาตรฐาน บุคลากรมีสมรรถนะ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ

  13. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2553-2554 วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคี ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี • เสริมสร้างให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ มีความรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • แผนชุมชนใช้กระบวนการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • ส่งเสริมการดำเนินงานแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ • พัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • พัฒนาระบบบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพ ภาคี พหุภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ เครือข่ายธุรกิจบริการสุขภาพมีส่วนร่วมจัดบริการ • เสริมสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในการจัดการสุขภาพ • พัฒนาสถานบริการธุรกิจบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐาน รพ.สต.มีคุณภาพ มาตรฐาน กระบวนการ ระบบบริการมีคุณภาพ มาตรฐาน • เร่งรัดการพ้ฒนา รพ.สต.แบบบูรณาการจากทุกภาคส่วน • สนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. ทุกองค์ประกอบอย่างครบถ้วน บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานHA&HPH • พัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาในหน่วยบริการ มีงานวิจัยและนวตกรรมด้านสุขภาพ • ส่งเสริมการพัฒนาบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล • พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) • ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนานวตกรรม รากฐาน บุคลากรมีสมรรถนะ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ ระบบข้อมูลข่าวสารมีคุภาพ มาตรฐาน • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและICTให้มีคุณภาพและมาตรฐาน

  14. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอะไร? (ยุทธศาสตร์=การเปลี่ยนแปลง) เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงอย่างไร? แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด

  15. มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)

  16. การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่นการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ • SRM + SLM • รายประเด็น • จุดหมายปลายทางSRM / SLM • ของจังหวัด • (ถ้ามี) • จุดหมายปลายทาง • SLMของอำเภอ • ตารางนิยามฯ • 11 ช่อง(บางส่วน) • จุดหมายปลายทาง+ SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร เติมเต็มตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล

  17. คำถามในการแปลงวิสัยทัศน์สู่ภาคปฏิบัติ (Strategy Formulation) วัดได้อย่างไรว่า Goal บรรลุแล้ว ต้องทำไหนถึงที่จะทำให้ ประเด็นยุทธศาสตร์ บรรลุผล ทำอะไรบ้างเพื่อให้ ตัวชี้วัดบรรลุผล ต้องทำอะไรใหญ่ ๆ เพื่อให้วิสัยทัศน์บรรลุผล มีโครงการอะไรใหม่ ๆ เพื่อให้ยุทธศาสตร์บรรลุผล อยากเป็นอะไร Vision Strategic Issue Goal KPI/Target Strategy Initiative

  18. เครื่องชี้วัดความสำเร็จ (Indicator) คืออะไร? เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ... กำหนดทิศทางการดำเนินงาน การตรวจสอบ ควบคุมและติดตามผล เพื่อให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายสูงสุด จะใช้วัดความก้าวหน้าของกิจกรรมและวัดผลที่ได้จากการทำกิจกรรมในแต่ละเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์

  19. เครื่องมือที่ใช้ชี้วัดความสำเร็จเครื่องมือที่ใช้ชี้วัดความสำเร็จ ใช้เครื่องมือสำคัญ 2 ชนิดคือ 1.หัวใจของความสำเร็จ (Critical Success Factor:CSF) “ อะไรคือสิ่งที่จุดประกายที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (หรือปฏิกิริยาลูกโซ่)ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” 2.ตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator:KPI “ เราต้องทำหรือจะทำอะไร? ที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านั้น ”

  20. การค้นหาหัวใจของความสำเร็จการค้นหาหัวใจของความสำเร็จ •ภายในเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (Strategic Objective) แต่ละข้อจะมีองค์ประกอบ(อาจเป็นกระบวนการหรือตัวคนก็ได้)ที่มีความสำคัญสูงต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการบรรลุความสำเร็จ •สิ่งที่ท้าทายคือ ความสามารถกลั่นกรอง เลือกเฟ้นองค์ประกอบที่มีความสำคัญสูงสุด หรือที่เรียกว่าเป็น หัวใจความสำเร็จ หรือ Critical Success Factor(CSF) ของยุทธศาสตร์ให้พบ

  21. ตัวอย่าง:หัวใจของความสำเร็จ(Critical Success Factor : CSF) หัวใจของความสำเร็จ(CSF)ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองไทยแข็งแรง การเฝ้าระวัง(สุขภาพ) ตนเองสภาวะแวดล้อมสังคม สร้างการมีส่วนร่วม กับภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนา สุขภาพ สร้างคนที่มีความสามารถ (Capability) และพลังใจที่จะ ทำงานให้สำเร็จ

  22. ประเภทของเครื่องชี้วัดประเภทของเครื่องชี้วัด ประเภทที่ 1 แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญ ของการเปลี่ยนแปลง ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลลัพธ์” (Key Result Indicator:KRI) ประเภทที่ 2 แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ในประเภทที่ 1 ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลงาน” (Performance Indicator:PI) ประเภทที่ 3 แสดงปฏิบัติการสำคัญที่มีผลต่อวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์หลายตัวหรือทั้งหมด ใช้ชื่อว่า“ตัวชี้วัดผลสำเร็จ” (Key Performance Indicator:KPI)

  23. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญที่ได้จากการปฏิบัติตามแผน วัดผลสำเร็จของโครงการ ซึ่งเป็นเรื่องอดีตที่เกิดจากผลพวงของการใช้กระบวนการต่างๆ หลายอย่าง แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าเกิดจากกระบวนการใด ไม่สามารถปรับทิศทางของงานได้  เหมาะสำหรับผู้บริหารระดับสูง ผู้ควบคุมนโยบาย บอกได้ว่าเกิดผลกับนโยบายอย่างไรบ้าง? แต่ไม่สามารถบอกที่มาที่ไปหรือเบื้องหลังของผลที่ได้

  24. KRI แสดงว่า “เราได้ทำอะไรไปแล้ว” (Output/Outcome ) มีลักษณะเป็นอดีต ( Historical ) •เป็นผลรวมของกระบวนการต่างๆ หลาย อย่าง ไม่สามารถระบุที่มาที่ไปได้ •ไม่บอกว่า “ได้ทำ (process) อย่างไร? ใครทำ” จึงใช้ปรับทิศทางไม่ได้ ตัวอย่าง เช่น  ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการ  ร้อยละของเด็กที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  อัตราป่วยด้วยโรคไข้หวัดนก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI)

  25. เป็นเครื่องชี้วัดที่หน่วยงานต่างๆ สร้างขึ้น สำหรับควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือวางแผนงบประมาณ  แสดงว่า “เราต้องทำอะไรบ้าง” แต่ไม่บอกว่า อะไรมีความสำคัญสูงสุด  เป็นแหล่งที่มาของ KPI อีกทีหนึ่ง ใช้ ประกอบกับ KPI โดยเฉพาะในองค์กรระดับ ปฏิบัติการ มีจำนวนมาก อยู่ระหว่าง KRI กับ KPI  อาจไม่มีผลโดยตรงต่อการบรรลุเป้าหมายในระยะสั้นแต่มีผลต่อการพัฒนาในระยะยาว ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI)

  26. ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI) •ใช้ได้ทั้งเพื่อแสดงอดีต(ผลงานที่ผ่านมา)หรือปัจจุบัน (กำลังทำอะไรอยู่) ตัวอย่าง เช่น มีการศึกษาวิจัยองค์ความรู้, มีศูนย์ประสานงานเครือข่าย, มีฐานข้อมูลที่พร้อมใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ จำนวนคู่มือ/สื่อ/ศูนย์การเรียนรู้ มีการสำรวจสัตว์ปีก/การฉีดวัคซีน

  27. มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคต เท่านั้น “เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” ใช้ติดตามงานที่เกิดขึ้นเป็นรายวัน/ทุกวัน หรือเป็นปัจจุบัน (Real Time)  ใช้วางแผนงานล่วงหน้าว่าจะทำอะไรในอาทิตย์หน้า/เดือนหน้า ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI)

  28. ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI)  ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องเข้าใจเครื่องชี้วัดและรู้วิธีแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา  สามารถหาผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆได้เมื่อเกิดปัญหา  มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญและ กว้างขวาง(หลายมุมมอง)  ต้องมีการติดตาม ตอบสนองโดยผู้บริหารระดับ CEO

  29. ตัวอย่าง : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : KPI การรายงาน/แจ้ง การพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดนก ภายใน 1 ชั่วโมง  เดินออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องวันละ 30 นาที (ไม่ใช่ 3 วัน/สัปดาห์) ดำเนินการตามข้อตกลงการดำเนินงานร่วมกัน (ไม่ใช่มีแค่เอกสาร) ผู้ผ่านการเสริมสร้างทักษะสามารถสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่เป้าหมายได้ การแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลสารสนเทศระหว่างเครือข่าย

  30. ตารางช่วยสร้างแผนกลยุทธ์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Plan) จาก SLM

  31. วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัดวิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด 1.นำเป้าประสงค์และกลยุทธ์สำคัญมาบรรจุลงในช่อง(ช่องที่ 1, 2) 2.ร่วมกันคิดกิจกรรมสำคัญของแต่ละกลยุทธ์ในแต่ละวัตถประสงค์ลงในช่องกิจกรรมสำคัญ ต้องการคิดใหม่ๆ หรืออาจนำกิจกรรมที่มีมาใส่ (ช่องที่ 3) เช่น...จัดทำระบบข้อมูล ฯลฯ 3.ระบุอาการกระทำ (กริยา) หรือวิธีการทำกิจกรรมสำคัญแต่ละกิจกรรมว่าทำอย่างไร เช่น เก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล (ช่องที่ 4) 4.กำหนดตัวชี้วัดผลงาน (PI) ในแต่ละการกระทำ (อดีต, ปัจจุบัน)(ช่องที่ 5)

  32. 5.ดำเนินการจนครบทุกเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญทุกข้อ (โดยยังมิต้องกำหนดและเขียน KPI ความคิดริเริม เป้าหมายภายใน 1 ปี และผู้รับผิดชอบประจำกลุ่ม) 6.หา CSF ให้พบที่อยู่ในชุดการกระทำ (ช่อง 4) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล (ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่) 7.เมื่อได้ CSF แล้วก็ให้พิจารณากำหนด KPI โดยคัดเลือกจาก PI จำนวนมาก(ในช่อง 5 )คัดเลือกเพียง 1 ตัวต่อ 1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ลงใน(ช่อง 6) 8. การหา CSF / KPI ต้องเคร่งครัด อย่าพยายามเหมาว่า PI ตัวใดตัวหนึ่งคือ KPI วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด

  33. 9.หากหา KPI ไม่ได้ แสดงว่าการกระทำที่คิดไว้อาจไม่ให้ผลตอบแทนที่ดีพอ ดังนั้นต้องระดมสมองพิจารณาค้นหาความคิดริเริ่มใหม่ๆ ไว้ใน(ช่องที่ 7) 10.ข้อสังเกต KPI เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น เช่น บุคลากรสามารถปฏิบัติการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ได้ (ส่งผลที่จะไปดำเนินต่อๆไป) 11.เมื่อได้โครงการ ตัวชี้วัด KPI/CSF และเป้าหมาย แล้ว CEO จะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลเป็นผู้รับผิดชอบประจำกลุ่มคนละ 1 กล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ หากบุคลากรไม่เพียงพอให้รับผิดชอบไม่เกิน 2 กล่อง วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด

  34. ตัวอย่าง:การสร้างแผนกลยุทธฉบับปฏิบัติการ ของ อบต.

  35. ตัวอย่าง:การสร้างแผนกลยุทธฉบับปฏิบัติการ ของ อบต.

  36. สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553 1. การทบทวนแผนยุทธศาสตร์  แบบฟอร์มแผนยุทธศาสตร์ =>ตรวจสอบ เป้าประสงค์, ตัวชี้วัด, ค่าเป้าหมาย, กลยุทธ์ 2. นิยามเป้าประสงค์ (แปลงกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ)  แบบฟอร์มตาราง 9 ช่อง(แบบฟอร์ม 2) =>กำหนดกิจกรรมสำคัญ, กระบวนการ, PI, KPI, Initiative, เป้าหมาย

  37. แผนปฏิบัติการประจำปี (แบบฟอร์ม 3)(ร่างโครงการเพื่อทำแผนขออนุมัติงบประมาณ)

More Related