1 / 81

การเลี้ยงปลาดุก

การเลี้ยงปลาดุก. สุพัสตรา เหล็กจาน. สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. พอประมาณ : ไม่สุดโต่ง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีเหตุผล : คำนึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว : เตรียมตัวพร้อมเผชิญผลกระทบ. ปลาดุกเป็นปลาน้ำจืดรูปร่างยาวลำตัว

moswen
Download Presentation

การเลี้ยงปลาดุก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเลี้ยงปลาดุก สุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น

  2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ : ไม่สุดโต่ง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีเหตุผล : คำนึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว : เตรียมตัวพร้อมเผชิญผลกระทบ

  3. ปลาดุกเป็นปลาน้ำจืดรูปร่างยาวลำตัวปลาดุกเป็นปลาน้ำจืดรูปร่างยาวลำตัว ไม่มีเกล็ด มีสีเทาปนดำหัวแบนมากมีหนวด 4 คู่ หนวดของปลาดุกช่วยหาอาหารภายในกะโหลก ศรีษะมีอวัยวะช่วยในการหายใจ ปลาดุกเป็นปลากินเนื้อ

  4. ศีรษะ เป็นปลาที่มีอวัยวะพิเศษช่วยหายใจ สามารถอยู่ในที่ที่มีน้ำน้อยและอ๊อกซิเจนต่ำได้

  5. ปลาดุกอุยเทศ(บิ๊กอุย)

  6. เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง พ่อ แม่ ปลาดุกอุย ปลาดุกเทศ (รัสเซีย)

  7. ปลาดุกเทศ ดุกยักษ์ โตเร็ว รัสเซีย ทนต่อโรค ข้อด้อย กินหารทุกชนิด เนื้อเหลวรสชาติไม่ดี

  8. ถิ่นเกิด แอฟริกา

  9. ปลาดุกอุย เนื้อแน่น เด่น รสชาติดี ข้อด้อย ตลาดต้องการ โตช้า

  10. บิ๊กอุย เลี้ยงได้จำนวนมาก ทนต่อโรค เลี้ยงง่าย โตเร็ว รสชาติดี ตลาดต้องการ

  11. ปลาดุกในรูปแบบต่างๆ ปลาดุกในบ่อดิน ปลาดุกในบ่อซีเมนต์/บ่อปูพลาสติก ปลาดุกในกระชัง

  12. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน • การเลี้ยงในบ่อดินนั้นจะมีหลักการเตรียมบ่อเลี้ยงปลาทั่วๆ ไปดังนี้ 1. จะต้องตากพื้นบ่อให้แห้ง ปรับสภาพพื้นบ่อให้สะอาด 2. ใส่ปูนขาวปรับสภาพของดิน ในอัตราประมาณ 60-100 กก./ไร่ 3. ใส่ปุ๋ยคอกเพื่อให้เกิดอาหารธรรมชาติในอัตราประมาณ 40-80 กก./ไร่ 4. สูบน้ำเข้าบ่อโดยกรองด้วยมุ้งเขียวจนมีระดับน้ำลึก 30-40 ซม. วันรุ่งขึ้นปรับสภาพอุณหภูมิของน้ำในถุงและน้ำในบ่อให้เท่าๆ กันก่อน โดยการแช่ถุงบรรจุลูกปลาในน้ำประมาณ 30 นาทีจึงปล่อยลูกปลา การปล่อยควรเป็นตอนเย็นหรือตอนเช้า และเพื่อให้ลูกปลามีอาหารกินควรเติมไรแดงในอัตราประมาณ 5 กิโลกรัม เพื่อเป็นอาหารลูกปลา หลังจากนั้นก็ให้ลูกปลากินอาหารเม็ดสำเร็จรูป

  13. ขั้นตอนการเลี้ยง • 1. อัตราปล่อยปลาดุก ลูกปลาขนาด 2-3 ซม. ควรปล่อยในอัตราประมาณ 40 - 100 ตัว/ตรม. ซึ่งขึ้นอยู่กับกรรมวิธีในการเลี้ยง คือ ชนิดของอาหาร ขนาดของบ่อและระบบการเปลี่ยนถ่ายน้ำซึ่งปกติทั่วๆไป อัตราปล่อยเลี้ยงประมาณ 50 ตัว/ตรม. ในวันที่ปล่อยลูกปลาไม่จำเป็นต้องให้อาหารควรเริ่มให้อาหารในวันรุ่งขึ้น

  14. 2. การให้อาหาร เมื่อปล่อยลูกปลาดุกลงในบ่อดินแล้ว อาหารที่ให้ในช่วงที่ลูกปลาดุกมีขนาดเล็ก (2-3 ซม.) ควรให้อาหารผสมคลุกน้ำปั้นเป็นก้อนให้ลูกปลากิน โดยให้กินวันละ 2 ครั้ง หว่านให้กินทั่วบ่อโดยเฉพาะในบริเวณขอบบ่อ เมื่อลูกปลามีขนาดโตขึ้นความยาวประมาณ 5-7 ซม.

  15. การเลี้ยงในกระชัง • การเลี้ยงปลาดุกในกระชังเป็นการใช้แหล่งน้ำให้เป็นประโยชน์ในการเพิ่มอาหารโปรตีนอีกทางหนึ่ง สามารถเลี้ยงเป็นงานอดิเรกหรือเลี้ยงเป็นอาชีพประจำครอบครัว เพราะจะช่วยเก็บเศษอาหารที่เหลือให้เกิดประโยชน์ และถ้าเลี้ยงในกระชังขนาดใหญ่หลายๆ กระชังแล้วจะสามารถทำรายได้ให้กับผู้เลี้ยงได้มาก และสามารถยึดเป็นอาชีพได้ ข้อควรคำนึงในการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง มีดังนี้

  16. คุณภาพของน้ำต้องดี • เป็นแหล่งที่มีกระแสน้ำไหลผ่านสะดวก • การคมนาคมสะดวก • ในบริเวณที่ใช้เลี้ยงปลาในกระชังควรปราศจากศัตรูธรรมชาติและโจรผู้ร้าย • ฤดูกาลที่เหมาะสม • ขนาดของกระชังพอเหมาะประมาณ กว้าง 1½ เมตร ยาว 2 เมตร ลึก 1.3 เมตร

  17. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูพลาสติกและบ่อซีเมนต์การเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูพลาสติกและบ่อซีเมนต์

  18. ข้อดีของการเลี้ยง เลี้ยงในบริเวณบ้านได้ จับบริโภคง่าย ใช้เวลาเลี้ยงสั้น ใช้พื้นที่น้อย

  19. การเลือกสถานที่สร้างบ่อการเลือกสถานที่สร้างบ่อ อยู่ใกล้บ้าน มีร่ม ใกล้น้ำ ไม่อยู่ใต้ต้นไม้

  20. ปลาดุกบ่อปูพลาสติก

  21. การเลี้ยงปลาดุก (catfish) ในบ่อซีเมนต์อิฐบล็อก

  22. การสร้างบ่อ ปรับพื้นให้เรียบบดอัดให้แน่น เทพื้นด้วยซีเมนต์โดยมี โครงไม้ไผ่ช่วยยึดเกาะปูน ความสูงใช้อิฐบล็อก 3 หรือ 4 ก้อนฉาบด้วยปูน

  23. บ่อแฝดดีที่สุด ใช้เลี้ยงปลาที่มีขนาดไม่เท่ากัน

  24. บ่อแฝดอีกแบบ

  25. บ่อแฝดใช้แยกปลาเล็กออกจากปลาใหญ่บ่อแฝดใช้แยกปลาเล็กออกจากปลาใหญ่ เมื่อเลี้ยงปลาไประยะหนึ่งปลาจะโต ไม่เท่ากันปลาใหญ่จะกินปลาเล็ก

  26. พื้นบ่อควรลาดเอียงเล็กน้อยพื้นบ่อควรลาดเอียงเล็กน้อย ท่อระบายน้ำ

  27. ปลาดุกไม่ชอบแดดต้องทำที่กันแดดปลาดุกไม่ชอบแดดต้องทำที่กันแดด

  28. แช่บ่อให้หมดฤทธิ์ปูนด้วยต้นกล้วยหั่นแช่บ่อให้หมดฤทธิ์ปูนด้วยต้นกล้วยหั่น สูตร1

  29. ต้นกล้วยหั่นแช่น้ำ 7 วันถ่ายน้ำออก ใส่น้ำเต็มบ่อทิ้งไว้ 3 วันถ่ายน้ำออกใส่น้ำ 50 ซม.ใส่อีเอ็ม ปล่อยปลา

  30. สูตร2

  31. นำสารส้มบดละเอียด ใส่ในบ่อ ใส่น้ำเต็มบ่อ ทิ้งไว้ 5 วัน

  32. ล้างบ่อ 3 ครั้ง ใส่น้ำ 50 ซม. ตากบ่อ 1 วัน ใส่อีเอ็ม ปล่อยปลา อัตราการใช้สารส้ม 50 กรัมต่อน้ำ 1 ลบม.

  33. ใส่ บ่อ 1x2 เมตร 2 ขีด สารส้ม100 กรัม ( 2 ขีด )

  34. สูตร 3 น้ำส้มสายชู

  35. บ่อ 1x2 เมตร ใส่น้ำส้มสายชู 1 ขวดแบน

  36. ใส่น้ำเต็มบ่อ ใส่น้ำส้ม แช่ไว้ 14 วัน ถ่ายน้ำออก 1 ล้างบ่อ 3-4 ครั้ง ใส่น้ำ 50 ซม.ใส่อีเอ็มปล่อยปลา

  37. บ่อไม่จืด อาการแพ้ปูน ตัวและครีบเปื่อย ปลาจะไม่ว่ายน้ำ ครีบหุบตัวมีสีแดงตามเกล็ด

  38. วิธีแก้ไข กะละมังใส่น้ำใส่ยาเหลือง 2 ช้อนชานำปลาแช่ 10นาที ล้างบ่อใหม่

  39. อัตราการปล่อย 50-70ตัว/ตรม. ปล่อยแน่นปลาโตช้า

  40. ต้องนำน้ำประปา ช่วยให้คลอรีนระเหย เร็วขึ้น ใส่ตุ่มตากแดด ทิ้งไว้ 3 วัน เพื่อให้คลอรีนสลายตัว ใส่เกลือ 2 ช้อนโต๊ะ

  41. น้ำฝน ออกซิเจนต่ำ ต้องให้ออกซิเจนหรือกวนน้ำในบ่อ

  42. น้ำบาดาล ปลาต้องการอ๊อกซิเจนไม่ต่ำกว่า 3 มก/ลิตร พักน้ำอย่างน้อย 1วัน ออกซิเจนต่ำกว่า1 มีสนิมเหล็กมาก ต้องพ่นน้ำขึ้นไปบนอากาศ เติมออกซิเจน

  43. น้ำที่เหมาะที่สุดคือ ลดผลกระทบ น้ำจากบ่อ

  44. ใส่อีเอ็ม 2 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะผสมน้ำ 1 ปี๊บใส่ลงในบ่อ

  45. ใส่เกลือ ก่อนหรือหลังปล่อยปลา 2 ช้อนชาในบ่อปลา

More Related