1 / 26

ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๗

นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๗. ความเป็นมา. ระยะที่ 1 พัฒนาความร่วมมือ สธ.-สปสช. 2551-2555. 1. แยกตามเป้าหมาย (PPA, PPE, PP ทันตกรรม).

Download Presentation

ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๗

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๗

  2. ความเป็นมา ระยะที่ 1 พัฒนาความร่วมมือ สธ.-สปสช. 2551-2555 1. แยกตามเป้าหมาย (PPA, PPE, PP ทันตกรรม) 2. “ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” ใช้แผนส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกเป็นเครื่องมือ 3. ส่งเสริมบทบาทของ อปท. ผ่านกองทุนตำบล 4. ริเริ่มกระบวนการ M&E ระยะที่ 2 ความร่วมมือ ‘PP Model’2556 1. ปรับบทบาทของ สปสช.-สธ. (Purchaser-provider) 2. แผนงานตามกลุ่มวัย + บูรณาการ 5 กรม 3. จัดทำแผนสุขภาพเขต จังหวัด อำเภอ

  3. การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข • การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน • National Health Authority (NHA) & Regulator • Purchaser หมายถึง สปสช. • Providerหมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHAของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPIระดับกระทรวง ซึ่งปี 2557 มี 50 ตัว 3. พัฒนารูปแบบการทำงานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช. โดยใช้ PP model เป็นตัวอย่างนำร่อง

  4. การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข • 3. การพัฒนาบทบาท ผู้ให้บริการ (Provider) • การจัด “เขตบริการสุขภาพ”12 เขต ปกด. ผตร. CEO, คกก.เขตบริการสุขภาพ และ สนง.เขตบริการสุขภาพ • จัดทำ “Service plan” ในแต่ละเขตบริการ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ ปกด. แผนพัฒนา 10 สาขา, แผน พบส., แผนลงทุน ปี 2558-60 และแผนบุคลากร • กำหนดให้ทุกเขตจัดทำ “แผนสุขภาพเขต” เป็นครั้งแรก ปกด. แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผน สสปก. • รูปแบบการทำงาน “บริหารงานร่วม” ปกด. งานบริการ บริหารงบประมาณ/กำลังคน งานจัดซื้อร่วม

  5. แนวทางบริหารยุทธศาสตร์แนวทางบริหารยุทธศาสตร์ KPI กระทรวง (44) KPI กรม KPI เขต (6) แผนงานแก้ไขปัญหา การตรวจราชการนิเทศงาน การจัดสรรงบประมาณ การนำแผนสู่การปฏิบัติ

  6. โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพ ปี ๕๗ บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี และเด็ก 0-5 + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา การบริหารกำลังคน-จริยธรรม สุขภาพเด็กวัยเรียน + BS พัฒนาระบบส่งต่อ การบริหารระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพวัยรุ่น + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยทำงาน พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง ยาเสพติด สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โครงการพระราชดำริ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ แผนสุขภาพเขต สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ (๒๐ แผน) การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  7. แผนพัฒนาสุขภาพ ยุทธศาสตร์สุขภาพเขต แผนสุขภาพเขต แผนงบประมาณ เขต แผนแก้ไขปัญหาในภาพรวม แผนสุขภาพจังหวัด แผนปฏิบัติของ จังหวัด แผนแก้ไขปัญหาพื้นที่ แผนสุขภาพอำเภอ แผนปฏิบัติของ หน่วยบริการ

  8. แผนสุขภาพเขต / จังหวัด การบริหารบประมาณแบบบูรณาการ PP ModelRealignment of Work กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบัติ

  9. Health Promotion & Prevention Basic Services Area Health National Programs กรอบงานส่งเสริมป้องกัน ตามลักษณะงาน

  10. บทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขบทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข (งานส่งเสริมป้องกัน) กระทรวง / กรม การจัดทำแผนงาน PP ตามกลุ่มวัยระดับประเทศ (5 Flagship Programs) 2. เขตพื้นที่เครือข่ายบริการ การจัดทำ MOU ร่วมกับ สปสช. เขต ในกรอบงาน PP (BS, NP, AH) ทบทวนและปรับบทบาทหน้าที่ของ เขต และ สปสช.

  11. บทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขบทบาทหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข (งานส่งเสริมป้องกัน) 3. จังหวัด มีหน้าที่บริหารจัดการ นำแผนงานไปสู่การดำเนินงาน ผ่านหน่วยบริการในพื้นที่ ปรับบทบาท จากผู้ชี้แจง สั่งการ จัดสรรงบประมาณ และจัดกิจกรรมในส่วนของ สสจ. มาเป็นผู้กำหนดกลยุทธการดำเนินงาน

  12. การบูรณาการ PP 5 กรม 1. เน้นแผนงานแต่ละกลุ่มวัย บูรณาการภารกิจของกรมที่เกี่ยวข้อง 2. กรมร่วมกันจัดทำแนวทาง คู่มือ เครื่องมือ ฯลฯ โดยมี Focal Point ดังนี้ กรมอนามัย รับผิดชอบ แผนงานกลุ่มสตรีและทารก และกลุ่มเด็กวัยเรียน กรมสุขภาพจิต รับผิดชอบ แผนงานกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น กรมควบคุมโรค รับผิดชอบ แผนงานกลุ่มวัยทำงาน กรมการแพทย์ รับผิดชอบ แผนงานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ กรมสนับสนุนบริการ สนับสนุนในภารกิจ Health Literacy สป.สธ. รับผิดชอบ การประสานพื้นที่ และการติดตามประเมินผล

  13. แนวคิดการจัดทำแผนงาน ๕ กลุ่มวัย 1. กำหนดประชากรกลุ่มวัยเป็นตัวตั้งการดำเนินงาน แทนการยึดโครงการ/กิจกรรมของแต่ละกรมในแบบเดิม 2. บูรณาการความเชี่ยวชาญของกรมต่างๆ เพื่อสร้างแผนการดำเนินงานร่วมกัน ... “แผนสุขภาพกลุ่มวัย” - บูรณาการกิจกรรมบริการที่ลงกลุ่มวัย - บูรณาการการบริหารจัดการ และงบประมาณ 3. จัดทำกรอบยุทธศาสตร์กลุ่มวัย เพื่อเป็นแนวทางดำเนินงานแก่ระดับเขต/จังหวัด ... “ทุกกรมเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยมีเจ้าภาพหลัก (Focal point)” 4. ระดับกิจกรรม : กรม มีหน้าที่สนับสนุนวิชาการ เขต/จังหวัด มีหน้าที่สนับสนุน/ดำเนินงาน

  14. กลไกรองรับแผนงาน ๕ กลุ่มวัย 1. แผนยุทธศาสตร์ ๕ กลุ่มวัย ระดับกระทรวง - ระยะที่ ๑ แผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๗ - ระยะที่ ๒ แผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๘-๖๐ 2. แต่งตั้ง คกก. และอนุ กก. ๕ ชุด - เวทีหมุนเวียน “PP Forum” ทุกเดือน - คณะ สธน. ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญของกรม - ผู้เชี่ยวชาญภายนอก และภาคส่วนต่างๆ 3. งบประมาณร่วมกันของ กรม และ สปสช. (NPP) 4. ความร่วมมือระดับเขตภายใต้ MOU 5. การกำกับ และประเมินผล (M&E) - กำกับประเมิน “กระบวนการ” และ “ผลลัพท์” - การประเมินผลและการวิจัย

  15. องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย ปี 2557 บูรณาการแผนกองทุนตำบล DHS.

  16. PP Model

  17. แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 1. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกัน และการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เป้าประสงค์ 2. มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพ และเข้าถึงได้ กรมอนามัย 3. มีต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว โดยชุมชนและท้องถิ่น กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ 1. คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม องค์ประกอบ 2. คลินิคสุขภาพผู้สูงอายุระดับอำเภอ 3. ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว โดยชุมชนและท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ กลวิธีดำเนินงาน 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพ 1. คัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม 2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้อายุ CUP 2. จัดตั้งคลินิกสุขภาพผู้สูงอายุ 3. มี Aging Manager ระดับอำเภอ 3. พัฒนาต้นแบบ LTCโดยชุมชน ท้องถิ่น

  18. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สู่การปฏิบัติระดับเขต / จังหวัด

  19. การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 57 P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) จังหวัด/เขต (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

  20. นโยบายสุขภาพ ปี 57 สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ 5 Flagships สปสช.เขต MOU MOU (BS,NP) (NP) เขต สธ. PPA งบ UC งบ สป.สธ. แผนยุทธ กำกับติดตาม (1000 ล้าน) (6,000 ล้าน) จังหวัด PPA แผนยุทธ กำกับติดตาม อำเภอ PPB

  21. แผนบูรณาการเชิงรุก เห็นทิศทางในภาพรวม แผนยุทธศาสตร์ เน้นปัญหาสำคัญ จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แผนแก้ปัญหา แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติ งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม

  22. คุณลักษณะของแผน 3 ระดับ

  23. กลไกการบูรณาการระดับจังหวัดกลไกการบูรณาการระดับจังหวัด นพ.สสจ. คทง. กลุ่ม วัยทำงาน คทง. กลุ่มวัยเรียน คทง. กลุ่มวัยรุ่น คทง. กลุ่มสูงอายุ คกก. MCH บูรณาการระหว่างกลุ่มงาน Provincial Program Managers MCH Manager Child Dev. Manager Teenage Manager NCD Manager Aging Manager District Program Managers MCH Manager Child Dev. Manager Teenage Manager NCD Manager Aging Manager

  24. บทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่ กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัด เป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่ กระบวนการ เป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต

  25. แนวทางดำเนินงาน PP 57 1. อิงกรอบแนวทางร่วม สธ.-สปสช. (PP Model) 2. จาก KPI ยุทธศาสตร์ 44 ตัว (PP 11 ตัว) สู่การปฏิบัติที่บูรณาการโดยยึดประชากรกลุ่มวัยเป็นตัวตั้ง ส่วนกลางควรวาง “กรอบแผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย” 5 แผนหลัก ที่มีองค์ประกอบของงานครบถ้วน 3. พัฒนาพื้นฐานของระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 4. สร้างกลไก M&E ผลการดำเนินงานของเขตบริการสุขภาพ

  26. ความท้าทายในอนาคต 1. การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพตามกลุ่มวัย ระยะ ๓ ปี 2. การรวบรวมคลังความรู้และข้อมูลสถานการณ์จากแหล่งต่างๆ ที่สามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงได้ทันการ 3. การกำหนดมาตรการที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 4. การพัฒนาระบบการกำกับ ติดตาม และประเมินผล

More Related