1 / 14

การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM)

การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM). วิสัยทัศน์. “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา ”. คำ ตอบอยู่ ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม.

naasir
Download Presentation

การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)

  2. วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม

  3. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอะไร? (ยุทธศาสตร์=การเปลี่ยนแปลง) เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงอย่างไร? แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด

  4. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมกรมอนามัยและควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ทำบันทึกความร่วมมือ หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  5. การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่นการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ • SRM + SLM • รายประเด็น • จุดหมายปลายทางSRM / SLM • ของจังหวัด • (ถ้ามี) • จุดหมายปลายทาง • SLMของอำเภอ • ตารางนิยามฯ • 11 ช่อง(บางส่วน) • จุดหมายปลายทาง+ SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร เติมเต็มตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล

  6. ตัวอย่าง แผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) ระดับประชาชน (จุดแตกหักอยู่ที่นี่) ต้องการความต่อเนื่องจึงจะได้ผล กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/ พฤติกรรม CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ดำเนินมาตรการทางสังคม (กิจกรรมสำคัญ) สร้างโครงการชุมชน (กิจกรรมสำคัญ) ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง / เฝ้าระวัง CSF(หัวใจของความสำเร็จ) ประชาชน องค์กรใน / นอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี อปท.ขับเคลื่อน สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการ

  7. โปรดชมการแสดงวิดิทัศน์ต่อไปนี้

  8. แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ โรงเรียน นวัตกรรมชุมชน กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ • อปท. • สาธารณสุข องค์กรต่างๆใน/นอก พื้นที่ กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ สปสช. (ทีมวิทยากรเขต) ท้องที่อำเภอ

  9. ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ( งานพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมฯ ประกันสุขภาพ สุขภาพภาคประชาชน คุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ)ถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลักคือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน และ (3) การจัดการนวัตกรรม • คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง • ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  10. 4. ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขตที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) 5. สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป 6. กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนได้ อย่างน้อย 3 ใน 5 โครงการต่อไปนี้ (1) โครงการเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (2) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) โครงการควบคุมโรคติดต่อ และ (4) โครงการเกี่ยวกับอาหารหรือโภชนาการ (5) โครงการอนามัยแม่และเด็กหรืออนามัยโรงเรียน

  11. 7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยให้ถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง ถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการมอบอำนาจจากสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น อาจทำเป็นข้อตกลงในระดับจังหวัดถ้าจำเป็น 9. หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา เนื่องจากได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น

  12. เงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำเงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำ • คัดเลือกกองทุนฯที่จะเป็นต้นแบบให้แล้วเสร็จ อำเภอละ 1 ตำบล ภายในตุลาคม 2552 • พัฒนากองทุนฯที่คัดเลือกไว้ (สร้างนวัตกรรม) โดยประชาชน ทำให้ได้โครงการอย่างน้อย 3 โครงการ • ทำการประเมินกองทุนฯที่สามารถเป็นครูได้ ภายในมิถุนายน 2553 • เปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกองทุนฯสุขภาพตำบลสำหรับผู้ปฏิบัติต่างตำบล และฟื้นฟู สำหรับผู้ปฏิบัติภายในตำบล ตั้งแต่ กรกฎาคม 2553

  13. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้นการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้น

  14. สวัสดี

More Related