1 / 63

เอ กนฤน บางท่าไม้ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียน แบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี. เอ กนฤน บางท่าไม้ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร. แนวทางการนำเสนอ. ความเป็นมาของการวิจัย

Download Presentation

เอ กนฤน บางท่าไม้ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียนการพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียน แบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี เอกนฤน บางท่าไม้ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

  2. แนวทางการนำเสนอ ความเป็นมาของการวิจัย • ความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • สมมุติฐานการวิจัย • ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย • ประชากร – กลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • วิธีการดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย • ผลการประเมินรูปแบบ ฯ • ผลการทดลองใช้รูปแบบ ฯ

  3. ความสำคัญและปัญหา (กระทรวงศึกษาธิการ , สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กระทรวงวัฒนธรรม , สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา, พรบ.การศึกษา 2542, อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง และคณะ 2541, ยืน ภู่สุวรรณและสมชาย นำประเสริฐชัย 2546, W.J. Pelgrum และ N. Law, 2003 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (IT 2010) โลกมีความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและสังคม การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน การกำหนด ICT ในภาคการศึกษา

  4. ความสำคัญและปัญหา (กระทรวงศึกษาธิการ , สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กระทรวงวัฒนธรรม , สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา, พรบ.การศึกษา 2542,แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7-9, Khan 2005, Porter 2004, Gunnel 1997,) • ประเด็นด้านการสื่อสารแบบออนไลน์ที่ส่งผลสารต่อจริยธรรมของมนุษย์ • นิสิตนักศึกษาขาดจริยธรรมในการเรียน • การส่งเสริมให้นิสิตนักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรมในการเรียน

  5. ความสำคัญและปัญหา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 -10 “มุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง” การพัฒนาคนแบบบูรณาการ สังคมที่เข้มแข็งและมีดุลยภาพ มีวินัย มีความรับผิดชอบ พร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม สร้างคนทุกคนให้เป็นคนดี มีจิตสำนึกสาธารณะ

  6. ความสำคัญและปัญหา • ปัญหาส่วนใหญ่ของบัณฑิตในระดับอุดมศึกษาเกิดจากจริยธรรมซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับ ความรู้ (สำนักคณะกรรมการมาตรฐานบัณฑิตอุดมศึกษา 2544) • การประเมินตนเองของเยาวชนไทยในส่วนร่วมในกิจกรรมพบว่าเยาวชนขาดจิตสำนึก สาธารณะ(สุริยเดว ทรีปาตี 2549) • ICT มีความเสี่ยงต่อเยาวชน เช่น การพลัดหลงเข้าไปในเว็บไซต์ (ศรีดา ตันทะอธิพานิช 2544)

  7. ความสำคัญและปัญหา คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ : มีคุณธรรมจริยธรรมในตน ในวิชาชีพและในสังคม (มนตรี แย้มกสิกร 2546) สถาบันการศึกษาควรมีการสอนแบบสอดแทรกจริยธรรมในรายวิชาต่างๆ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาจริยธรรม (นิดาพรรณ สุรีรัตนันท์และวัชนีย์ เชาว์ดำรง, 2551) การพัฒนาบัณฑิต : ยอมรับผลกการกระทำของตน สามารถควบคุมตนเองได้ มีความมุ่งมั่น พยายามในการาเรียน การปฏิบัติงาน ใช้เวลาอย่างเป็นระบบ (สุทธิพงศ์ บุญผดุง 2541) วัยรุ่นทั่วไปมักจะไม่เปิดรับเว็บไซต์ที่เป็นแหล่งจริยธรรมโดยตรง(ชนัญสรา อรพน ณ อยุธยา 2549)

  8. การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจริยธรรมการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจริยธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7-9 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 (มาตรา 6) พระราชบัญญัติการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำนักมาตรฐานอุดมศึกษาสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา รูปแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง และคณะ, 2541 ยืน ภู่สุวรรณและสมชาย นำประเสริฐชัย, 2546 ศูนย์เทคโนโลยีอีเลิร์นนิงและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2544 ปรัชญนันท์ นิลสุข, 2542 มุ่งให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียน แบบอีเลิร์นนิง รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี Khan : 2005, Porter:2004, Gunnel : 1997 Georgia Department of Technical Deb Gearhar, 2001 ปทีป เมธาคุณวุฒิ, 2542 ความสำคัญและปัญหา ปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา -แนวคิดในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพและมี จริยธรรม -มุ่งเน้นสังคมที่มีคุณภาพ มีความรับผิดชอบ -พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ -การพัฒนานิสิตนักศึกษาให้เข้าใจในบทบาท หน้าที่ -โลกมีความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี -สังคมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน

  9. การพัฒนา และปลูกฝังจริยธรรม (การตัดสินใจทางจริยธรรม) ความกระจ่าง ในค่านิยม (กลุ่มสัมพันธ์,กรณีศึกษา) วิธีการเรียนการสอน • การพัฒนา • จิตตพิสัย จริยธรรม ด้านความรับผิดชอบ สำหรับการเรียน • เนื้อหา ระบบ บริหารรายวิชา การเรียนการสอน แบบอีเลิร์นนิง การประเมินผล การประเมินผล • เครื่องมืออินเทอร์เน็ต • การกำกับตนเอง • สังเกตตนเอง ตัดสิน แสดงปฏิกิริยา • (การสังเกตตัวแบบ,กรณีศึกษา) • กิจกรรมการเรียนการสอน จริยธรรมด้านความรับผิดชอบ (ตนเอง การงาน ผู้อื่น)

  10. วัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัย วัตถุประสงค์ทั่วไป พัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิง เพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี 1. เพื่อสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสำหรับการเรียน อีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2. เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี วัตถุประสงค์เฉพาะ

  11. ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1.1 อาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเรียนการสอนในระบบอีเลิร์นนิง 1.2 นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของรัฐที่เรียนด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิง

  12. ขอบเขตการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสอบถามความคิดเห็น ประกอบด้วย 2.1.1 อาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเรียนการสอน ในระบบอีเลิร์นนิง จำนวน 20 ท่าน(ด้านจริยธรรม และด้านการเรียนแบบอีเลิร์นนิง) 2.1.2 นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี และผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตร ในระบบอีเลิร์นนิงจำนวน 134 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองรูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2.2.1 นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 30 คน

  13. ขอบเขตการวิจัย • ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย • ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ รูปแบบการสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง • ตัวแปรตาม (Dependent Variable) • คะแนนจริยธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนแบบอีเลิร์นนิงหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

  14. นิยามศัพท์เฉพาะ • จริยธรรมด้านความรับผิดชอบ หมายถึง ความรับผิดชอบทางการเรียนของนักศึกษาที่ • เรียนด้วยการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง สามารถแบ่งได้เป็น 3 องค์ประกอบ ดังนี้ • การรับผิดชอบต่อตนเอง คือ ความรับผิดชอบของผู้เรียนที่มีต่อตนเองในการเรียน • เช่น การเข้าชั้นเรียน การสนใจใฝ่รู้ทางด้านการเรียน การ • มีวินัยต่อตนเองในการเรียนสำหรับการเรียนแบบ • อีเลิร์นนิง • การรับผิดชอบต่อผู้อื่น คือ ความรับผิดชอบที่มีต่อผู้อื่น เช่น การเผยแพร่ • แบ่งปันความรู้ต่อผู้อื่น การเคารพสิทธิ์ของผู้อื่น ในการเรียน • แบบอีเลิร์นนิง • ความรับผิดชอบต่อการงาน คือ ความรับผิดชอบที่มีต่อการทำงานในชั้นเรียน • อีเลิร์นนิง เช่น การส่งงานตามกำหนดเวลา การมี • ส่วนร่วมในชั้นเรียน การทำงานอย่างเรียบร้อยและ • ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย

  15. สร้าง ค่านิยม กำกับตนเอง ในการเรียน การเรียน อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการ สอนจิตพิสัย Affective Domain Psychomotor Domain กำกับตนเอง การติดตาม ประเมินผลด้วยตนเอง กระบวน การสังเกต ตนเอง ให้คุณค่าและ เทิดทูน สร้างแรงจูงใจ การรับรู้ ค่านิยม ขั้นการรับรู้ ขั้นเลียนแบบ วัตถุประสงค์ ยืนยันเปิดเผย การตอบสนอง ค่านิยม ขั้นตอบสนอง ขั้นทำตาม ทบทวนเชื่อม โยงความรู้ เป้าหมายและ กลยุทธ์การวางแผน เลือกจาก ตัวเลือก กระบวน การตัดสิน ให้เกิดความ กระตือรือร้น การเห็นคุณค่า ของค่านิยม พิจารณาผล แสดงค่านิยม ขั้นทำอย่าง มีคุณค่า กลยุทธ์การติดตาม ผลการนำไปใช้ เลือก อย่างอิสระ นำไปใช้ กระบวน การแสดง ปฏิกิริยาต่อ ตนเอง แสดง พฤติกรรม ให้ข้อมูล ป้อนกลับ การจัดระบบ ค่านิยม ขั้นรวบรวม ขั้นผสมผสาน กลยุทธ์การ ติดตามผลลัพธ์ มีแผนการ กระทำ ขั้นสร้าง ลักษณะนิสัย ขั้นการ ปรับตัว ทดสอบ ความรู้ การสร้าง ลักษณะนิสัย

  16. กระบวนการสังเกตตนเอง • ประเมินตนเอง • ทำความเข้าใจบทบาทของตนเอง • สร้างแรงจูงใจ ต้นแบบทางการเรียน • กระบวนการตัดสิน • สถานการณ์ตัวอย่าง กรณีศึกษา • แสวงหาความรู้ • พิจารณาทางเลือก แสวงหาความร่วมมือ เลือกค่านิยม • กระบวนการแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง • กระบวนการป้อนกลับ • ยอมรับคุณค่า สร้างลักษณะนิสัย

  17. จริยธรรมด้านความรับผิดชอบทางการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาจริยธรรมด้านความรับผิดชอบทางการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษา - จริยธรรมสำหรับนิสิต - บทบาทการเรียนการ สอนแบอีเลิร์นนิง - จริยธรรมด้านความ รับผิดชอบ รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง - องค์ประกอบการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง - ขั้นตอนการเรียนการสอนใน ระบบอีเลิร์นนิง - การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอน • การพัฒนาจริยธรรม • - การพัฒนาจิตตพิสัย • - การพัฒนาและปลูกฝัง • จริยธรรม / ระดับจริยธรรม • - การกำกับตนเอง • (Self Regulation) • การสร้างความกระจ่างใน • ค่านิยม (Value Clarification) รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างจริยธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

  18. สอดคล้องกับงานวิจัยของ เอกนฤน บางท่าไม้ (eknarin 2008:49) IEC 2008 THE STUDY OF GUIDELING TO ENHANCE ETHICS OF E-LEARNING AMONG UNIVERSITY STUDENT

  19. ขั้นตอนดำเนินการวิจัยขั้นตอนดำเนินการวิจัย • การวิจัยครั้งนี้มีวิธีการดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ดังนี้ • ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน • ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี • ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี • ขั้นตอนที่ 4 รับรองรูปแบบ และ นำเสนอรูปแบบ

  20. ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจำแนกจริยธรรมที่ควรได้รับการพัฒนาสำหรับการเรียนการสอนในระบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ศึกษาเอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมสำหรับบัณฑิต และรูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิง แนวทางในการศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอน ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากนักศึกษา ร่างกรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบ ฯ สนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญในด้านจริยธรรมสำหรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิง กรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการสร้างจริยธรรมในการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

  21. ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี กรอบแนวคิด ในการพัฒนา จริยธรรมสำหรับผู้เรียน กำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนา จริยธรรมสำหรับผู้เรียนฯ สังเคราะห์กรอบแนวคิด ด้านจริยธรรมสำหรับผู้เรียน แบบอีเลิร์นนิง กรอบแนวคิด ในการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง สังเคราะห์กรอบแนวคิด ของการออกแบบการสอน แบบอีเลิร์นนิง รูปแบบการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง รูปแบบการสร้างจริยธรรมและ การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง ร่างรูปแบบการสร้างจริยธรรมสำหรับ นิสิตนักศึกษาในการเรียนการสอน แบบอีเลิร์นนิง สังเคราะห์กรอบแนวคิดเพื่อ การออกแบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรม

  22. ขั้นตอนที่ 2 สร้างสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ร่างรูปแบบการสร้างจริยธรรมสำหรับ นิสิตนักศึกษาในการเรียนการสอน แบบอีเลิร์นนิง รูปแบบการเรียน การสอนที่ผ่านการตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญแล้ว ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบการเรียน การสอนที่ผ่านการตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญแล้ว รูปแบบการสร้าง จริยธรรมสำหรับผู้เรียนแบบ อีเลิร์นนิง สร้างรูปแบบ ฯ รูปแบบการสร้าง จริยธรรมสำหรับผู้เรียนแบบ อีเลิร์นนิง ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ รูปแบบที่ผ่าน การปรับปรุงแก้ไข

  23. ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี (ขั้นหาประสิทธิภาพ) บทเรียนอีเลิร์นนิง ที่พัฒนาขึ้นตามรูปแบบ ฯ ผู้เชี่ยวชาญด้านอีเลิร์นนิง ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข รูปแบบการสร้าง จริยธรรมสำหรับผู้เรียนแบบ อีเลิร์นนิงที่ผ่านการแก้ไข ปรับปรุงแก้ไข ทดสอบกลุ่มทดลอง รายบุคคล รูปแบบการสร้าง จริยธรรมสำหรับผู้เรียนแบบ อีเลิร์นนิงที่ผ่านการแก้ไข ปรับปรุงแก้ไข ทดสอบกลุ่มทดลอง กลุ่มย่อย ต้นแบบรูปแบบที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข

  24. ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเพื่อสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบสำหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี (ขั้นการทดลอง) ต้นแบบรูปแบบที่ผ่าน การปรับปรุงแก้ไข ผลการทดลองใช้ ทดสอบภาคสนาม ผลการทดลองใช้ สรุปผล วิเคราะห์ข้อมูล

  25. ขั้นตอนที่ 4 รับรองรูปแบบ และ นำเสนอรูปแบบ ร่างรูปแบบที่ผ่านการ รับรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ร่างรูปแบบที่ผ่าน การทดลองแล้ว รับรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ร่างรูปแบบที่ผ่านการ รับรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ร่างรูปแบบฯ ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ปรับปรุงแก้ไข ต้นแบบรูปแบบการสร้างจริยธรรม สำหรับนิสิตนักศึกษาในการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง รูปแบบการสร้างจริยธรรมด้านความรับผิดชอบ สำหรับนิสิตนักศึกษา ในการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง นำเสนอ

  26. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสอบถามการวิจัยสำหรับผู้เชี่ยวชาญ (Questionnaire) 1.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านจริยธรรมการเรียนการสอน (10 ท่าน) 1.2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (10 ท่าน) 2. แบบสอบถามการวิจัยสำหรับนิสิตนักศึกษา (Questionnaire) 2.1 นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (134 คน) 3.แบบประเมินรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน ฯ 3.1 ผู้เชี่ยวชาญด้านรูปแบบ ฯ (10 ท่าน)

  27. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. แบบประเมินบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน) 5. แบบประเมินผลจริยธรรม ประกอบด้วย 5. 1 แบบประเมินความรู้ด้านจริยธรรมความรับผิดชอบ 5.2 แบบวัดทัศนคติด้านจริยธรรมความรับผิดชอบ 5.3 แบบวัดการกำกับตนเองในการเรียน 5.4 แบบวัดพฤติกรรมและบันทึกพฤติกรรมจริยธรรม โดยแบ่งความรับผิดชอบเป็น 3 ด้านได้แก่ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ความรับผิดชอบต่อการงาน และความรับผิดชอบต่อผู้อื่น

  28. แบบแผนการวิจัย ____________________________________________________________________ กลุ่ม ทดสอบก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง ทดสอบหลังเรียน RE TE1 X TE2 RC TC1 ~X TC2 ________________________________________________________________________________ R = ผู้เรียนทั้งสองกลุ่มได้มาโดยการสุ่ม C = กลุ่มที่เรียนด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบปกติ E = กลุ่มทดลองที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนแบบ ฯ TE1, TC1 = การทดสอบความรู้ด้านจริยธรรมก่อนการทดลอง TE2, TC2 = การทดสอบความรู้ด้านจริยธรรมหลังการทดลอง X = การสอนแบบอีเลิร์นนิงแบบปกติ ~X = การทดลองโดยรูปแบบแบบอีเลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมจริยธรรม

  29. ผลการประเมินในขั้นหาประสิทธิภาพผลการประเมินในขั้นหาประสิทธิภาพ • ขั้นการทดลองแบบเดี่ยว (3 คน) ผลการประเมินด้านความรู้เท่ากับ 2.76 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมาก ผลการประเมินด้านทัศนคติเท่ากับ 3.88 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินด้านพฤติกรรมเท่ากับ 3.08 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินการกำกับตนเองเท่ากับ 3.44 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมาก

  30. ผลการประเมินในขั้นหาประสิทธิภาพผลการประเมินในขั้นหาประสิทธิภาพ • ขั้นการทดลองกลุ่มย่อย (18 คน) ผลการประเมินด้านความรู้เท่ากับ 3.02 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมาก ผลการประเมินด้านทัศนคติเท่ากับ 3.64 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินด้านพฤติกรรมเท่ากับ 2.54 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมาก ผลการประเมินการกำกับตนเองเท่ากับ 3.56 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับมากที่สุด

  31. และนำไปสู่ Instructional Model

  32. สถานการณ์ตัวอย่าง

  33. Score: Knowledge responsibility

  34. Score : Attitude Responsibility

  35. Most accessed Content

  36. Student Log on

  37. Student Assignment

  38. Sharing & Post

  39. Sharing & Discussion

More Related