1 / 47

ก๊าซพิษและการจัดซื้อ

ก๊าซพิษและการจัดซื้อ. พนักงานฝ่ายบุคคลจะวางแผนจัดซื้อต้องแจ้งให้ The office of health and safety ทราบ The office of health and safety จะอนุญาตให้จัดซื้อได้ โดยจะส่งพนักงานผู้เชี่ยวชาญในห้องปฎิบัติการ หลังจากแน่ใจว่าก๊าซนั้นปลอดภัย

naomi
Download Presentation

ก๊าซพิษและการจัดซื้อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ก๊าซพิษและการจัดซื้อ • พนักงานฝ่ายบุคคลจะวางแผนจัดซื้อต้องแจ้งให้ The office of health and safety ทราบ • The office of health and safety จะอนุญาตให้จัดซื้อได้ โดยจะส่งพนักงานผู้เชี่ยวชาญในห้องปฎิบัติการ หลังจากแน่ใจว่าก๊าซนั้นปลอดภัย • พื้นที่ที่จะใช้ก๊าซพิษนั้น จะต้องเป็นห้องเดี่ยวๆแยกจากห้องอื่นๆ • 2352

  2. ก๊าซไวไฟ (Flammable gases) • กระบอกสูบที่เต็มหรือว่าง จะต้องไม่เก็บไว้ในห้องปฎิบัติการ • ขนาดของกระบอกสูบจะต้องไม่เกิน 200 ลูกบาศก์ฟุต • ท่อจะต้องเหมาะสมกับก๊าซ เช่น ไม่ใช้ท่อพลาสติกในระบบความดันสูง • เมื่อปฏิบัติงานเสร็จ วาล์วที่อยู่บนกระบอกสูบต้องปิดให้เรียบร้อยก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ

  3. Flammable gases

  4. การเก็บรักษากระบอกสูบการเก็บรักษากระบอกสูบ • ควรเก็บข้างนอกหรือแยกต่างหากจากห้อง • การเก็บไว้ข้างนอกต้องป้องกันฝน และบริเวณที่เก็บต้องปลอดภัย เข้าออกได้สะดวก • กระบอกสูบที่มีก๊าซและไม่มีก๊าซต้องจัดเก็บให้สามารถเห็นได้ชัดเจน • ก๊าซไวไฟที่บรรจุในกระบอกสูบต้องไม่อยู่ใกล้กับตัวออกซิไดส์

  5. การควบคุมและการจัดเก็บกระบอกสูบอัดก๊าซการควบคุมและการจัดเก็บกระบอกสูบอัดก๊าซ • เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการต้องได้รับการฝึกจากผู้เชี่ยวชาญของ Office of health and safety • กระบอกสูบอัดก๊าซจะต้องใช้พาหนะในการเคลื่อนย้ายที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ • กระบอกสูบอัดก๊าซต้องไม่มีการเคลื่อนย้ายจนกว่าจะแน่ใจว่าวาล์วนั้นปิดสนิทและมีความปลอดภัย

  6. สัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้

  7. การควบคุมและการจัดเก็บกระบอกสูบอัดก๊าซการควบคุมและการจัดเก็บกระบอกสูบอัดก๊าซ • กระบอกก๊าซต้องน่าเชื่อถือและปลอดภัยทุกครั้งที่จะใช้งาน • วาล์วหลักๆของกระบอกก๊าซ ควรเปิดสำหรับรับก๊าซที่ต้องการให้ไหลเข้ามาเท่านั้น • เมื่อพบรอยรั่วของกระบอกก๊าซต้องรีบตรวจสอบทันที • ห้องปฏิบัติการที่มีการใช้ก๊าซพิษ ควรมีหน้ากากป้องกันเตรียมไว้ให้พร้อมด้วย

  8. กระบอกที่ไม่ใช้งานแล้ว (Empty Cylinders) • ควรมีการติดฉลากและพร้อมจะเคลื่อนย้ายได้ โดยฉลากต้องมีขนาดใหญ่ ติดแน่น ไม่หลุดง่าย • วาล์ว ปิด/เปิด ควรนำลวดติดป้ายไปพันไว้ เพื่อบอกว่าเป็นวาล์วอะไร • การส่งคืนกระบอกเปล่า ต้องได้รับการจัดส่งกระบอกใหม่มาก่อน • กระบอกเปล่าที่ยังไม่มีป้ายและฉลากต้องไม่นำมาใช้ ควรติดป้ายบอกว่า “Contents Known” • กระบอกที่ใช้บรรจุก๊าซพิษต้องได้รับการจัดการให้เป็นไปตามที่สถาบันสุขภาพและความปลอดภัยกำหนดไว้

  9. Empty Cylinders

  10. การควบคุมความดันและวาล์วเปิด/ปิดต่างๆการควบคุมความดันและวาล์วเปิด/ปิดต่างๆ • ก๊าซชนิดต่างๆกันควรมีวาล์วเฉพาะเป็นของตัวเอง • กระบอกและวาล์วต้องผ่านการรับรองมาตรฐานจาก National Compressed Gas Association • วาล์วต้องสะอาด เวลาไปสัมผัสต้องไม่ลื่นหรือแน่นจนเกินไป • วาล์วตามจุดเชื่อมต่างๆต้องแข็งแรงและมีขนาดของตัวหมุนที่เหมาะสม • ควรเปิดวาล์วอย่างช้าๆและหลีกเลี่ยงการยืนหน้าตัวควบคุม เพราะความดันของกระบอกอาจกระแทกแก้วออกมาได้ ทำให้เกิดอันตราย

  11. การทดสอบรอยรั่ว • จะใช้สารละลาย เช่น สบู่ สังเกตรอยรั่วภายใต้ความดัน โดยอาจจะมีฟองอากาศเล็ดลอดออกมาจากรอยรั่ว • Cylinders ควรจะทดสอบรอยรั่วทั้งก่อนและหลังการติดตั้งเครื่องมือ

  12. Needle Valves

  13. SAFE USE OF LABORATORY EQUIPMENT AND FACILITIES

  14. Electrical • เครื่องมือทางไฟฟ้าที่ใช้ในห้องปฏิบัติการจะต้องต่อสายดิน • จะต้องเสียบปลั๊กกับเต้ารับ จะทำให้มีความปลอดภัย • สายไฟจะต้องสั้นและอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี และต้องอยู่ในที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเดินและการตกหล่นของเครื่องมือน้อยที่สุด • การเดินสายไฟจะต้องหลบหลีกสิ่งกีดขวางต่างๆ ถ้าไม่หลบหลีกจะต้องแน่ใจว่า การเดินสายไฟมีความเหมาะสม ซึ่งอาจจะปรึกษาบริษัทที่เกี่ยวกับวิศวกรรมไฟฟ้า

  15. Electrical

  16. Heating Devices • อุปกรณ์ที่ไม่ได้ควบคุมความร้อน จะต้องไม่ใช้ใกล้กับสารที่ติดไฟง่าย และบริเวณนั้นต้องไม่มีคนอยู่ • Hot plates และ Heating mantles ต้องมีส่วนที่ล้อมรอบและมีระบบควบคุมความร้อน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย

  17. Hot plates

  18. Personnel Safety • บุคลากรทุกคนต้องได้รับการฝึกอบรมในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์เฉพาะอย่างที่ออกแบบมาเพื่อ เก็บ / ขนส่ง และรักษาผลิตภัณฑ์ • ถุงมือ / รองเท้า / ผ้ากันเปื้อน และอุปกรณ์ป้องกันดวงตา จะต้องสวมใส่เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากการสัมผัส

  19. Centrifuges • ผู้ที่จะใช้เครื่องต้องผ่านการอบรมการใช้เครื่องอย่างถูกวิธี • การ centrifuges ทำให้เกิด “Physical Hazard” คือ เกิดกลไกการแตกหรือแยกของเหลวที่ผ่านการอัดอากาศ โดยจะได้เป็นหยดน้ำเล็กๆ • ผู้ใช้จะต้องตรวจสอบสภาพเครื่องทั้งก่อนใช้งานและหลังจากใช้งานแล้วทุกครั้ง • ขั้นตอนการใช้งานของเครื่องจะต้องกำหนดโดยผู้ควบคุมเครื่องและต้องสอดคล้องกับคู่มือปฏิบัติงานด้วย

  20. Centrifuges

  21. Centrifuges • คู่มือปฎิบัติงานประกอบด้วย แนวทางการ centrifuges จุลินทรีย์ก่อโรค , อันตรายจากสารเคมี และวัตถุที่มีกัมมันตภาพรังสี • ห้องปฎิบัติการที่ centrifuges พวกจุลินทรีย์ก่อโรค ควรจะติดป้ายหรือข้อความเตือนให้ระวังอันตรายไว้ด้วย • ควรใช้หลอดที่เป็นพลาสติกเพราะจะได้ไม่แตกหักง่าย • หลอดที่จะนำมาปั่นเหวี่ยงไม่ควรใส่ของเหลวจนปริ่ม เพราะในขณะที่เครื่องทำงานจะเกิดแรงเหวี่ยง ทำให้ของเหลวพุ่งออกมาจากหลอดได้

  22. Laser • หลักของการแบ่งประเภทเลเซอร์ แบ่งโดยใช้ระดับของความอันตราย โดยดูจากความเข้มในการแผ่รังสี • แบ่งตาม The American National Standards Institute (ANSI) • วิธีการใช้งานเลเซอร์ที่ปลอดภัย จะถูกกำหนดและควบคุมโดย The Office of Health and Safety

  23. Ultraviolet Lights • แสงยูวี คือ คลื่นพลังงานแสงที่มองเห็นได้ ภายใต้ความเข้มของแสงและระยะเวลาที่สัมผัสเหมาะสม • เราสามารถใช้แสงยูวีทำลายจุลินทรีย์ได้หลายชนิด ประสิทธิภาพของมันยอดเยี่ยมที่สุดเมื่อนำมาใช้เพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของจุลินทรีย์ที่อยู่บนพื้นผิวและในอากาศ • ปัจจัยต่างๆ เช่น อายุของเครื่องให้กำเนิดแสง และการรวมแสง สามารถทำให้ประสิทธิภาพลดลงได้

  24. Ultraviolet Lights

  25. วิธีการป้องกันเพื่อให้ปลอดภัยจากแสงยูวีวิธีการป้องกันเพื่อให้ปลอดภัยจากแสงยูวี • ตาและผิวหนังต้องไม่สัมผัสกับแสงยูวีโดยตรง หากสัมผัสจะเกิดอาการต่างๆ ซึ่งความรุนแรงขึ้นกับปริมาณแสง ความยาวคลื่น และอาการแพ้แสงของแต่ละคน • ควรมีป้ายเตือนติดที่หน้าประตูห้องปฏิบัติการและห้องของสัตว์ทดลอง • ควรสวมแว่นตาที่มีที่ครอบตาปิดด้านข้างและป้องกันผิวหนังโดยสวมหมวก ถุงมือ เสื้อกาวน์ • เครื่องฉายแสงยูวีควรทำความสะอาดสม่ำเสมอและเปลี่ยนอุปการณ์ตามที่ผู้ผลิตได้แนะนำไว้

  26. วิธีการป้องกันเพื่อให้ปลอดภัยจากแสงยูวีวิธีการป้องกันเพื่อให้ปลอดภัยจากแสงยูวี

  27. Microwave ovens • ควรระมัดระวังเมื่อนำไปใช้หลอมวุ้น เพราะอาจเกิดการระเบิดได้ • ฝาปิดและฝาเกลียวของขวดควรคลายออก เมื่อจะนำมาอบ เพื่อป้องกันการระเบิด • ควรใส่ถุงมือป้องกันความร้อนและป้องกันการเกิดไฟไหม้ • ควรใส่เสื้อคลุมยาวเมื่อใช้เตาไมโครเวฟทุกครั้ง

  28. Microwave ovens

  29. Autoclaves • ต้องใช้งานตามที่คู่มือระบุไว้ • วิธีใช้แบบฉุกเฉินต้องติดไว้ข้างๆตัวเครื่องเสมอ • ผู้ใช้เครื่องต้องเป็นผู้ที่ฝึกมาอย่างดี • ควรสวมใส่เครื่องป้องกันตา ถุงมือกันความร้อน และผ้ากันเปื้อน • ไม่ควรเปิดฝาเร็วเกินไปเมื่อเครื่องทำงานเสร็จ เพราะอาจเกิดการประทุของของเหลวและก๊าซพิษ • ต้องบันทึกการใช้งานทุกครั้ง

  30. Autoclaves

  31. การถอดอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการการถอดอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ • อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการต้องปราศจากสารเคมีอันตรายหรือจุลินทรีย์ที่อาจทำให้ติดเชื้อ • กรอกแบบฟอร์ม CDC.0593 ให้ครบถ้วนและติดลงบนอุปกรณ์ทุกชิ้นที่จะถอดออก เพื่อบำรุงรักษา ซ่อมแซม ดัดแปลง หรือเพื่อจุดประสงค์อื่นๆ • ปรึกษาผู้ควบคุมห้องปฏิบัติการทุกครั้ง

  32. การตรวจเช็คอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการการตรวจเช็คอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ • ต้องแจ้งพนักงานในห้องปฏิบัติการให้ทราบเกี่ยวกับ Biosafety level และให้ปฏิบัติตามข้อควรระวังอย่างเคร่งครัด • พนักงานที่ยังไม่เชี่ยวชาญ ไม่ควรปล่อยให้อยู่ตามลำพังในห้องปฎิบัติการ เพราะอาจเกิดอันตรายขึ้นได้ • เมื่อพบอุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนหรือเสียหายจนใช้งานไม่ได้ ควรแจ้งให้ทางหน่วยงานได้รับทราบ • ควรใช้คู่มือประกอบการตรวจเช็คเสมอ ถ้าไม่ทราบวิธีการตรวจเช็ค ไม่ควรลองผิดลองถูก

  33. Corridors • อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการไม่ควรเก็บไว้ที่ทางเชื่อม แต่มีข้อยกเว้นสำหรับอุปกรณ์ที่ไม่เป็นอันตราย เช่น เฟอร์นิเจอร์ วัสดุต่างๆ • ทางเชื่อมหรือทางเดิน ต้องใช้เป็นที่อพยพเจ้าหน้าที่ได้ในกรณีฉุกเฉิน • ไม่ควรมีสิ่งกีดขวางใดๆ เพื่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกู้ภัยจะได้ทำงานได้สะดวกเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น • ตู้เย็นซึ่งไม่ได้บรรจุเชื้อโรค และสารรังสี อนุญาตให้วางได้

  34. Corridors

  35. มาตรฐานในการกำหนดทางเดินในตึกมาตรฐานในการกำหนดทางเดินในตึก • ทางเดินจะต้องโล่ง โดยมีความกว้างอย่างน้อย 44 นิ้ว • รายการทั้งหมดต้องใส่ไว้ด้านเดียวของทางเดินเท่านั้น • ให้มีระยะอย่างน้อย 18 นิ้ว ระหว่างอุปกรณ์และกลอนข้างประตู • อุปกรณ์ต้องไม่กีดขวางประตูฉุกเฉิน • อุปกรณ์ต้องไม่ขยายออกไปมากกว่าผนังของหัวมุม • อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องต่ออยู่กับเครื่องรับที่ติดอยู่อย่างถาวร

  36. DECONTAMINATION AND DISPOSAL OF LABORATORY WASTES

  37. ระเบียบข้อบังคับ • วัตถุอันตรายทางชีวภาพทั้งหมด ต้องทำให้ปลอดภัย เก็บในภาชนะที่เหมาะสม • ขยะสารเคมีอันตรายและสารกัมมันตรังสี ต้องกำจัดโดยวิธีการที่กำหนดไว้โดย OSH • เครื่องแก้วและพลาสติก ต้องทิ้งในภาชนะที่จัดไว้ให้ • ขยะที่เป็นพิษต้องป้องกันไม่ให้ปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม • ผู้ปฏิบัติการต้องตรวจเช็ค ดูแลรักษาความสะอาดอยู่เสมอ

  38. Decontamination of reusible items • วัสดุหรืออุปกรณ์ที่ปนเปื้อนแล้วและจะนำกลับมาใช้อีก จะต้องทำความสะอาดสิ่งเจือปนก่อน • ต้องแยกชิ้นที่นำกลับมาใช้ได้และใช้ไม่ได้ออกจากกันอย่างชัดเจน • วัสดุและอุปกรณ์ที่นำกลับมาใช้ ต้องใส่ในภาชนะที่มีฝาปิด พันด้วย autoclave tape ซึ่งจะนำไป autoclave ต่อไป • วัสดุและอุปกรณ์ที่จะทิ้ง ต้องใส่ในภาชนะที่มีฝาปิด และติดฉลากให้ชัดเจน • หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือได้ เช่น OSH , SRP , NCID

  39. Decontamination of disposable laboratory waste • วัสดุและอุปกรณ์ที่จะทิ้ง ต้องนำไป autoclave ยกเว้นชิ้นที่ปนเปื้อนด้วยสารเคมีอันตราย หรือ สารกัมมันตรังสี • เสื้อกาวน์ที่ใช้แล้วทิ้ง ถุงมือ หน้ากาก ให้ใส่ลงในถุง autoclave และนำไป autoclave ได้เลย • ก่อนปิดถุงให้เติมน้ำประมาณ 500 ml รัดถุงหลวมๆด้วย autoclave tape เพื่อให้ไอน้ำซึมผ่านออกไปได้ • ไม่ควรใช้ถุง autoclave กับเครื่องแก้ว ให้ใส่ในภาชนะโดยตรง เพราะบางครั้งถุงอาจจะละลาย ทำให้เครื่องแก้วเสียหายได้

  40. Disposal of needles and sharps • เข็มและของมีคมอื่นๆ ต้องใส่ในภาชนะที่แข็ง ทนต่อการถูกเจาะ และมีฝาปิดสนิท • กระบอกฉีดที่ติดอยู่กับเข็ม ต้องแยกเข็มออกก่อน • ภาชนะที่ทิ้งของมีคมต้องมีการติดฉลากชัดเจน • การกำจัดเข็มและของมีคม ต้องทำด้วยความระมัดระวังอย่างสูง เพราะเกิดอันตรายได้ง่าย • เข็มต้องไม่โค้งงอ แตกหัก หรือมีรอยตัด เพราะจะยิ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่ออันตรายมากขึ้น

  41. Gloves and Laboratory Clothing

  42. Eye and Face protection

  43. Eye and Face protection

  44. Eye and Face protection

More Related