1 / 25

ทีมงานคลินิกสายตาเลือนราง ภาควิชาจักษุวิทยา

นวัตกรรมสร้างสรรค์/ส6. ทีมงานคลินิกสายตาเลือนราง ภาควิชาจักษุวิทยา. เครื่องขยายภาพสงขลานครินทร์1. ผู้เสนอโครงการ. ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล นางสมพร บูรโชควิวัฒน์ นางปริญดา เสียงใหญ่ นางสาวศรีระบาย ช่วยจันทร์ นางสาวรัชนก รัตนศิริ

nat
Download Presentation

ทีมงานคลินิกสายตาเลือนราง ภาควิชาจักษุวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นวัตกรรมสร้างสรรค์/ส6 ทีมงานคลินิกสายตาเลือนราง ภาควิชาจักษุวิทยา

  2. เครื่องขยายภาพสงขลานครินทร์1เครื่องขยายภาพสงขลานครินทร์1

  3. ผู้เสนอโครงการ • ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล • นางสมพร บูรโชควิวัฒน์ • นางปริญดา เสียงใหญ่ • นางสาวศรีระบาย ช่วยจันทร์ • นางสาวรัชนก รัตนศิริ • นายฐานะพงศ์ แก้วกนิษฐารักษ์ • นายวัชระพันธุ์ พิสุทธิพันธุ์ • นายบัญญัติ นวลแก้ว

  4. เกริ่นนำ : ผู้ป่วยสายตาเลือนราง เป็นผู้ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างผู้มีสายตาปกติและคน ตาบอด สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้ถ้าได้รับการ ฝึกฝนและมีเครื่องช่วยสายตาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย แต่ละคน

  5. ความเป็นมาและปัญหา ปัจจุบันผู้ป่วยสายตาเลือนรางได้รับการสนับสนุนเครื่อง ช่วยสายตาเพื่อใช้ในการอ่านและเขียนหนังสือจากศูนย์สิรินธรฯ และสปสช. ซึ่งส่วนมากจะเป็นแว่นขยายหรือแว่นตากำลังเลนส์สูง

  6. ปัญหาจากการใช้เครื่องมือปัญหาจากการใช้เครื่องมือ • ความสว่าง ความคมชัด และความกว้างของภาพน้อยไป • ระยะโฟกัสใกล้มากเกินไปประมาณ 5-10 ซ.ม. • ไม่สะดวกในผู้ป่วยที่มีปัญหามือสั่น • ไม่สะดวกในผู้ป่วยที่ต้องอ่านและเขียนหนังสือ • ในเวลาเดียวกัน

  7. เราจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไรเราจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร P D C A

  8. จากแนวคิดงานวิจัยของ อ.ทวีกิจ นิ่มวรพรรณ ประดิษฐ์เครื่องช่วยขยายภาพโดยใช้ CCD. Camera ต่อกับโทรทัศน์ และได้ทดลองใช้กับผู้มีสายตาเลือนราง แล้วพบว่าสามารถใช้ได้ดี และผู้มีสายตาเลือนรางมีความพึงพอใจ

  9. ภาพโมเดลต้นแบบ

  10. ทีมงานคลินิกสายตาเลือนรางภาควิชาจักษุวิทยา ได้นำแนวคิดนี้มาประดิษฐ์“เครื่องช่วยขยายภาพสงขลานครินทร์1”เป็น Simple Writing CCTV สำหรับคนสายตาเลือนรางโดยปรับใช้กล้องวงจรปิดขนาดเลนส์ 16 มม. แทนCCD. Camera เพื่อประหยัด งบประมาณและติดตั้งชุดหลอดไฟ LED เพิ่มความสว่าง

  11. วัตถุประสงค์ • 1.ประดิษฐ์เครื่องช่วยสายตาที่มีประสิทธิภาพสูง • และมีราคาต่ำเพื่อใช้ในผู้ที่มีสายตาเลือนราง • 2. ตอบสนองปัญหาและความต้องการของผู้มี • สายตาเลือนราง • 3. ให้บริการชุมชนโดยเฉพาะคนพิการที่ด้อยโอกาส • ประหยัดงบประมาณของประเทศในการซื้อเครื่องมือ • ราคาแพง

  12. วัสดุอุปกรณ์ • กล้องวงจรปิดประกอบด้วยกล้องพร้อมเลนส์ขนาด 16 มม. • โคมไฟสำหรับอ่านหนังสือ สามารถเปลี่ยนตำแหน่งขึ้นลงและ • หมุนได้รอบตัว • ชุดติดตั้งหลอดไฟ LED • สายสัญญาณภาพต่อเชื่อมกล้องกับโทรทัศน์ • โทรทัศน์มีอยู่แล้วทั้งที่คลินิกสายตาเลือนรางและที่บ้านของผู้ป่วย

  13. ขั้นตอนการประดิษฐ์ 1.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. นำโคมไฟมาและถอดหลอดไฟออก (เนื่องจากหลอดไฟแบบเดิมเมื่อใช้งานนานๆจะทำให้เกิด ความร้อน) 3. ประดิษฐ์ชุดหลอดไฟ LED 4. ติดตั้งชุดหลอดไฟ LED และ กล้องวงจรปิด

  14. 5.ต่อสายสัญญาณภาพจากด้านหลังกล้อง5.ต่อสายสัญญาณภาพจากด้านหลังกล้อง เข้า video in ของโทรทัศน์ 6. ต่อสายไฟจาก adapter เข้ามาที่กล้อง 7. ทดสอบประสิทธิภาพในการขยายภาพกับ โทรทัศน์ ขนาด 21 นิ้ว โดยวัดขนาดของอักษรบนจอโทรทัศน์หารด้วย ขนาดอักษรจริงตัวเดียวกัน ปรับระดับของเครื่องขยายภาพ สงขลานครินทร์1 ให้สูงจากพื้นจนได้กำลังขยาย 7x และปรับภาพให้ชัด โดยหมุนเลนส์ที่กล้องวัดความสูงจากโคมไฟถึงพื้น หลังจากนั้นปรับ ความสูงให้ได้กำลังขยาย 10x, 15x, 20x ตามลำดับ

  15. 8. ทำ magnification guide โดยตัดกระดาษแข็งเป็นรูปขั้นบันได • และติดเลขกำลังขยายที่กระดาษแข็งทุกตำแหน่ง • ทดลองใช้กับผู้ป่วยอีกครั้ง • ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย

  16. ผลของการขยายภาพเบื้องต้นผลของการขยายภาพเบื้องต้น • เมื่อทดสอบด้วยโทรทัศน์ขนาด 21 นิ้ว • ความสูงของโคมไฟจากพื้น 3.2 cm. ขยายภาพได้ 20x • ความสูงของโคมไฟจากพื้น 7.0 cm. ขยายภาพได้ 15x • ความสูงของโคมไฟจากพื้น 14.0 cm. ขยายภาพได้ 10x • ความสูงของโคมไฟจากพื้น 18.5 cm. ขยายภาพได้ 7x

  17. 10x 20x 15x

  18. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย ระดับคะแนน 5 = มาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = ต้องปรับปรุง

  19. เปรียบเทียบความกว้าง และความคมชัดของภาพ • เปรียบเทียบ • ความสะดวกของผู้ป่วย • ระยะในการอ่าน • และเขียนหนังสือ

  20. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประดิษฐ์เครื่องช่วยสายตาที่มีประสิทธิภาพสูงและมีราคาต่ำเพื่อใช้ในผู้ที่มีสายตาเลือนราง 2. ประหยัดงบประมาณประเทศ ซึ่งราคาของเครื่องที่ผลิตจำหน่ายในประเทศ ราคา 36,900 บาท ราคาที่ผลิตเอง 3,320 บาท

  21. การนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชนการนำไปใช้ประโยชน์กับชุมชน สปสช. เห็นถึงประโยชน์ของเครื่องมือและได้พิจารณาจัดสรรงบประมาณเป็นจำนวนเงิน 265,600 บาท เพื่อจัดทำเครื่องขยายภาพสงขลานครินทร์1 จำนวน 80 เครื่อง เพื่อมอบให้กับ • โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 30 เครื่อง • โรงพยาบาลกลุ่มที่ให้บริการด้านสายตาเลือนราง 4 แห่ง แห่งละ 10 เครื่อง รวม 40 เครื่อง • โรงพยาบาลที่ไม่ให้บริการด้านสายตาเลือนราง 5 แห่ง แห่งละ 2 เครื่อง รวม 10 เครื่อง

  22. ข้อเสนอแนะ • ในผู้ป่วยที่มีการสูญเสียสายตามาก แนะนำญาติให้ใช้โทรทัศน์ขนาดใหญ่ขึ้น หรือให้ผู้ป่วยดูใกล้เพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มขนาดภาพ • เผยแพร่นวัตกรรมเครื่องขยายภาพสงขลานครินทร์ 1 ไปสู่วงการการศึกษาเพื่อดัดแปลงใช้เป็น visualizer

  23. CCD - CHARGE COUPLED DEVICECCTV - CLOSED CIRCUIT TELEVISION • ค่า STDEV • 1 0.49 • 2 0.46 • 3 0.51 • 4 0.63 • 5 0.61 • ศูนย์สิรินธรฯ ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟู • สปสช สำนักงานส่งเสริมหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

More Related